วราภรณ์ เชิดชู

อาจารย์ประจำภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความสนใจและเชี่ยวชาญด้าน ทฤษฎีและดนตรีไทยวิเคราะห์, วิจัยดนตรีไทยและดนตรีพื้นบ้าน, วิจัยประวัติศาสตร์ดนตรีไทย, งานสร้างสรรค์ทางดนตรี

721 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประสบการณ์การทำงาน

พ.ศ. 2548 - ปัจจุบัน (พ.ศ.2566) อาจารย์ประจำ ภาควิชาดนตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร รายวิชาสอนระดับปริญญาบัณฑิต: ทฤษฎีดนตรีไทย, ระเบียบวิธีวิจัยดนตรีเบื้องต้น, การแสดงผลงานสร้างสรรค์ทางดนตรีไทย, ทักษะดนตรีไทย (เครื่องสาย) 1-7 รายวิชาสอนระดับบัณฑิตศึกษา: ความคิดสร้างสรรค์และการบูรณาการทางดนตรี, ปราชญ์ศึกษา, ดนตรีกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต, ระเบียบวิธีวิจัยทางสังคมศาสตร์

รางวัล เกียรติประวัติในการทำงาน

  • 2564 รางวัลวิทยานิพนธ์ ระดับดีมาก (สาขาปรัชญา) รางวัลการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (เงินรางวัลและโล่เกียรติ)
  • 2564 รางวัลนักวิจัยดีเด่นคณะมนุษยศาสตร์ ประจำปี 2564 (เกียรติบัตร)
  • 2563 รางวัลนักวิจัยดีเด่นคณะมนุษยศาสตร์ ประจำปี 2563 (เกียรติบัตร)
  • 2562 รางวัลพระราชทานผลงานวิจัยดีเด่นสำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ประจำปี พ.ศ.2562 จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (กิตติบัตรรางวัล)
  • 2562 รางวัลพระราชทานผลงานวิจัยดีเด่นสำหรับนิสิตระดับปริญญาเอก กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช ประจำปี พ.ศ.2562 จากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (กิตติบัตรรางวัล)
  • 2561 รางวัลทุนอุดหนุนการวิจัย แผนพัฒนาศักยภาพบัณฑิตวิจัยรุ่นใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2561 จากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) 2561 รางวัลทุนผลงานวิจัยดีเด่นสำหรับนิสิตปริญญาเอก สาขามนุษยศาสตร์ กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. 2561
  • 2561 รางวัลนิสิตดีเด่น ระดับบัณฑิตศึกษา (ดุษฎีบัณฑิต) แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ.2561 (เข็มรางวัลและเกียรติบัตร)
  • 2554 รางวัลจรรยาบรรณวิชาชีพในระดับดีเด่น คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปี พ.ศ.2554 (โล่รางวัล) 2552 ทุนรัฐบาลสาธารณรัฐอินโดนีเซียในโครงการ Indonesian Arts and Culture Scholarship 2009 (2552) เป็นระยะเวลา 3 เดือน ณ ประเทศอินโดนีเซีย 2548 รางวัลนิสิตดีเด่น ระดับบัณฑิตศึกษา (มหาบัณฑิต) แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. 2548 (เข็มรางวัลและเกียรติบัตร)
ประวัติการศึกษา
  • ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ดุริยางคศิลป์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ดุริยางค์ไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับสอง (ดุริยางคศิลป์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อีเมลann.faa.cu@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจมานุษยวิทยาดนตรี, ดนตรีวิทยา, การสร้างสรรค์ทางดนตรี, ดนตรีไทย
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2565). การสร้างสรรค์ทางดนตรีและศิลปะการแสดงจากอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ในเขตภาคเหนือตอนล่าง เพื่อส่งเสริมคุณค่าของวัฒนธรรมท้องถิ่นสู่ระดับสากล ทุน Fundamental Fund (ประเภทโครงการเดี่ยว) สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 (หัวหน้าโครงการ) หัวหน้าโครงการ (อยู่ระหว่างการดำเนินงาน)
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2564). เครื่องดนตรีสยามในจดหมายเหตุชาวฝรั่งเศสสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช พ.ศ. 2199-2231. สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • กฤติธี บุญพิมพ์, เดชา ศรีคงเมือง, และวราภรณ์ เชิดชู. (2564). กลวิธีการบรรเลงและแนวคิดการประพันธ์ทางระนาดทุ้ม เพลงสาธุการ กรณีศึกษา ผู้ช่วยศาสตราจารย์เอกพสิษฐ์ พชรกุศลพงศ์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายความร่วมมือทางวิชาการ-วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14 (The 14th conference is under the theme of “Moving from Disruption to Collaboration: The Dynamics of Humanities and Social Sciences”). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • วราภรณ์ เชิดชู, (ผู้ร่วมโครงการวิจัย). (2564). ทวารวดี: การศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ของอารยธรรม เพื่อการสร้างสรรค์นาฏยศิลป์ไทย ร่วมสมัยและการส่งเสริมคุณค่าของวัฒนธรรมไทยสู่นานาชาติทุนสร้างสรรค์วิชาการงานศิลป์ สำนักการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี 2564 (อยู่ระหว่างการดำเนินการ)
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2563). ทางและอัตลักษณ์ของซออู้ในเพลงหน้าพาทย์ประกอบการแสดง (ทุนสนับสนุนการดำเนินโครงการวิจัยจากงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัยนเรศวร ประจำปี 2563) หัวหน้าโครงการ (รอหนังสือตอบรับตีพิมพ์)
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2563). เพลงปี่มังคละ: การวิเคราะห์และการสร้างสรรค์ทางดนตรี (ทุนสนับสนุนการดำเนินโครงการวิจัยจากงบประมาณ รายได้คณะมนุษยศาสตร์ ประจำปี 2563) หัวหน้าโครงการ (รอหนังสือตอบรับตีพิมพ์)
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2563). การวิเคราะห์อัตลักษณ์ทำนองหลักเพลงเชิดจีน. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 7(2) กรกฎาคม-ธันวาคม, 134-150.
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2562). เพลงตับพิณทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา. ศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ณัฐชยา นัจจนาวากุล, รุ่งนภา ฉิมพุด, อัจฉรา ศรีพันธุ์, วราภรณ์ เชิดชู. (2561). กระบวนการเรียนรู้เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนารูปแบบการแสดงพื้นบ้านมังคละในภาคเหนือตอนล่าง. วารสารอารยธรรมศึกษา โขง-สาละวิน, 9 (1) หน้า 36-55.
  • วราภรณ์ เชิดชู, (ผู้วิจัยร่วม). (2554). กระบวนการเรียนรู้เพื่อการอนุรักษ์และพัฒนารูปแบบการแสดงมังคละในเขตภาคเหนือตอนล่าง ทุนวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2561). “สารัตถะพิณ: แนวทางสู่การสร้างสรรค์เพลงตับ "พิณทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา". วารสาอารยธรรมโขง-สาละวิน, 9 (2): กรกฎาคม - ธันวาคม.
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2552). เชิดจีน: รูปแบบ อัตลักษณ์และแนวคิดการประพันธ์. (รายงานการวิจัย) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • วราภรณ์ เชิดชู, (2548). การศึกษาเพลงทยอยเดี่ยวสำหรับซออู้ทางครูหลวงไพเราะเสียงซอ (อุ่น ดูรยะชีวิน), (วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต),จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ธีร์ หมื่นอินทร์, และวราภรณ์ เชิดชู. (2564). วิเคราะห์เดี่ยวซอสามสายเพลงสุรินทราหู สามชั้น ทางหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง). รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายความร่วมมือ ทางวิชาการ-วิจัย สายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 14 (The 14th conference is under the theme of “Moving from Disruption to Collaboration: The Dynamics of Humanities and Social Sciences”), (น. 804-817). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • วราภรณ์ เชิดชู และคณะ. (2563). “อัตลักษณ์ชาติพันธุ์ไทยวน: แนวทาง การ สร้างสรรค์ และ พัฒนาผลิตภัณฑ์”. วารสารอารยธรรมโขง-สาลวิน มหาวิทยาลัยนเรศวร 11(2), 200-222.
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2563). เอกสารประกอบการสอนวิชา 234222 ดนตรีไทยปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ บริษัท สหธรรมิก จำกัด.
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2559). บทความเรื่อง “คำดนตรีไทยเชื้อสายชวา”. สูจิบัตรการประกวดดนตรีไทย ระดับ มัธยมศึกษาภาคเหนือ ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ครั้งที่ 1 ประจำปี 2559 โดยมหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา.
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2555). บทความเรื่อง “เมืองบูยเต็นซ็อค”. สูจิบัตรโครงการประกวดดนตรีไทยนักเรียน ภาคเหนือ ครั้งที่ 4 ชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ประจำปี 2555 โดยมหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2551). บทความเรื่อง “พิณพาทย์หรือปี่พาทย์”. สูจิบัตรโครงการไหว้ครูและครอบครูดนตรีไทยประจำปี 2551 โดย มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • วราภรณ์ เชิดชู. (2550). บทความเรื่อง “ดนตรีไทย: สื่อสมาธิสู่ความอิสระจากร่างกาย”. สูจิบัตรโครงการไหว้ครูและครอบครูดนตรีไทย ประจำปี 2550 โดยมหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • Cherdchoo, W. (2019). Phin-Dukkhanirodhagaaminipatipada: A creation of Thai classical music composition with special reference to phin and the Middle Path in Tripitaka. The 45th International Council for Traditional Music World Conference (ICTM)., 1(1), (Conference presentation).
  • Cherdchoo, W. (2010). Kham Dontri Thai Chue Sai Jawa (คำดนตรีไทยเชื้อสายชวา, Javanese words in Traditional Thai Music). Naresuan University, Phitsanulok, 1(1).
  • Cherdchoo, W. & Srikongmuang, D. (2021). Suvarnawadi: Musical concept and process of creative composition inspired by Suvarnabhumi civilization. In Moving from Disruption to Collaboration: The Dynamics of Humanities and Social Sciences, Proceedings of the 14th National and International Humanities and Social Sciences (HUSOC) Network Conferences. Phitsanulok, Thailand: Naresuan University. (International Conference)
  • Cherdchoo, W. & Srikongmuang, D. (2021). Suvarnawadi: Musical concept and process of creative composition inspired by Suvarnabhumi civilization. In Moving from Disruption to Collaboration: The Dynamics of Humanities and Social Sciences, Proceedings of the 14th National and International Humanities and Social Sciences (HUSOC) Network Conferences. Phitsanulok, Thailand: Naresuan University. (International Conference)
  • Cherdchoo, W., et al. (2016). The Arts Creation Depicting Thai-Yuan Ethnic Group. Proceedings of The 14th Urban Research Plaza's Forum 2016. Urban Research Plaza. Bangkok, Chulalongkorn University. (International Conferences)
  • Cherdchoo, W. (2015). Cherd-jeen: Form, Identity and Concept of Composition. Proceedings of The 1st International Conference on Ethnics in Asia “Life, Power and Ethnics”. Phitsanulok: Naresuan University, (1-15).
ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)