รชพรรณ ฆารพันธ์

นักวิจัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยพหุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีความสนใจและเชี่ยวชาญในประเด็นการท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม การวิจัยทางมานุษยวิทยาและสังคมศาสตร์ การพัฒนาพื้นที่สร้างสรรค์ การออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม

232 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประวัติการทำงาน

  • 2566 – ปัจจุบัน: นักวิจัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันพหุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2565 – 2566: นักวิจัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว โครงการจัดตั้งศูนย์ล้านนาสร้างสรรค์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2559 – 2565 : นักวิจัย ศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2555 – 2558 : นักวิจัย/เจ้าหน้าที่วิจัย คณะวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 2550 – 2554 : นักวิจัย สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ประวัติการศึกษา
  • 2558 : ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 2553 : ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาวิชาวัฒนธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 2548 : ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) วิชาเอกการพัฒนาชุมชน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ตำแหน่งทางวิชาการนักวิจัย (ชำนาญการพิเศษ)
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันศูนย์วิจัยและพัฒนาการท่องเที่ยว สถาบันวิจัยพหุศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อีเมลyimmyjr@gmail.com, ratchapan.k@cmu.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจการวิจัยทางสังคมศาสตร์, การท่องเที่ยวทางวัฒนธรรม, การผลิตสื่อทางวัฒนธรรม, การพัฒนาพื้นที่สร้างสรรค์, การวิจัยทางมานุษยวิทยา
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

การวิจัย

  • กรวรรณ สังขกร, รชพรรณ ฆารพันธ์, นิเวศน์ พูนสุขเจริญ, ชลระดา หนันติ๊ (2565). การส่งเสริมศักยภาพจังหวัดเชียงใหม่สู่การขับเคลื่อนนโยบายระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ (NEC) ด้วยแนวคิด BCG Economy. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
  • รชพรรณ ฆารพันธ์, ปณต สุสุวรรณ, อาคม พรรณนิกร, ฐิตวัฒน์ เปรมกระโทก (2566). How to know รถม้าลำปาง. กองทุนพัฒนาสื่อปลอดภัยและสร้างสรรค์.
  • รชพรรณ ฆารพันธ์, ศันสนีย์ กระจ่างโฉม, เผชิญวาส ศรีชัย (2566). การถ่ายทอดกระบวนการผลิตและการนำเสนอต้นทุนทางวัฒนธรรมด้วย Digital Content. ภายใต้แผนงานการส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน (Area-based Innovation for Community). อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • ศันสนีย์ กระจ่างโฉม, เผชิญวาส ศรีชัย, รชพรรณ ฆารพันธ์ (2566). การถ่ายทอดกระบวนการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากผ้าทอไทลื้อบ้านลวงเหนือเพื่อส่งเสริมการสร้างรายได้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างยั่งยืน. ภายใต้แผนงานการส่งเสริมการนำนวัตกรรมไปใช้ประโยชน์ในพื้นที่ เพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน (Area-based Innovation for Community). อุทยานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • รชพรรณ ฆารพันธ์, กรวรรณ สังขกร, เผชิญวาส ศรีชัย, สามารถ สุวรรณรัตน์ (2565). นครเชียงใหม่เมืองแห่งการเรียนรู้เศรษฐกิจสร้างสรรค์. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
  • กรวรรณ สังขกร, สุดารัตน์ อุทธารัตน์, ศันสนีย์ กระจ่างโฉม, เผชิญวาส ศรีชัย, นิเวศน์ พูนสุขเจริญ, รชพรรณ ฆารพันธ์, กรรณิการ์ อินต๊ะวงค์, ธิตินัดดา จินาจันทร์, สามารถ สุวรรณรัตน์ (2564). Chiang Mai City of Wellness: การพัฒนาศักยภาพและมาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัยเพื่อสร้างความเชื่อมั่นแก่นักท่องเที่ยวหลังวิกฤตการณ์ COVID-19. หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
  • รชพรรณ ฆารพันธ์, ศันสนีย์ กระจ่างโฉม, กรวรรณ สังขกร, ศรีชนา เจริญเนตร (2563). การพัฒนาต้นแบบพื้นที่น่าอยู่สร้างสรรค์ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยกลไกการพัฒนาลำปางเมืองน่าอยู่สร้างสรรค์ หน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ (บพท.) สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.)
  • รชพรรณ ฆารพันธ์, นิเวศน์ พูนสุขเจริญ (2563). การพัฒนาผลิตภัณฑ์และถ่ายทอดความรู้ “ผ้าย้อมครามและผ้าสีธรรมชาติ” จังหวัดแพร่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • รชพรรณ ฆารพันธ์, ปณต สุสุวรรณ, ธัชกร ป้อปาลี (2563). การจัดทำคลังข้อมูลชุมชนบ้านห้วยปูแกง ตำบลผาบ่อง อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กรวรรณ สังขกร, สุดารัตน์ อุทธารัตน์, ศันสนีย์ กระจ่างโฉม, เผชิญวาส ศรีชัย, นิเวศน์ พูนสุขเจริญ, รชพรรณ ฆารพันธ์ (2563). การจัดทำแผนปฏิบัติการท่องเที่ยวภายในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา. เขตพัฒนาการท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา
  • รชพรรณ ฆารพันธ์, กรวรรณ สังขกร, สุดารัตน์ อุทธารัตน์, สามารถ สุวรรณรัตน์ (2563). การถอดบทเรียนและจัดทำแนวทางการขับเคลื่อนการแก้ปัญหามลพิษฝุ่นควันเชียงใหม่. Spark U Lanna.
  • นิภา อ่อนน้อม, รชพรรณ ฆารพันธ์ และคณะ (2563). การจัดทำคลังข้อมูลชุมชนไทยพวนบ้านทุ่งโฮ้ง หมู่ที่ 1 ตำบลทุ่งโฮ้ง อำเภอเมือง จังหวัดแพร่. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • รชพรรณ ฆารพันธ์, ปณต สุสุวรรณ, ธวัช นิลรังสี (2563). โครงการผลิตชุดความรู้สำหรับการสอนแพทย์ทางเลือก “วิถีมะเก่า ชาวล้านนา. สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ.
  • รชพรรณ ฆารพันธ์ และปณต สุสุวรรณ (2562). พลวัตและการปรับตัวของกลุ่มชาติพันธุ์พวน. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
  • รชพรรณ ฆารพันธ์ และคณะ (2561). การพัฒนาผลิตภัณฑ์และช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าออนไลน์ผ้าย้อมครามสีธรรมชาติของกลุ่มทอผ้าไทยพวนบ้านทุ่งโฮ้ง จังหวัดแพร่. เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.).

การตีพิมพ์บทความ (ในประเทศ)

  • รชพรรณ ฆารพันธ์ และธัชกร ป้อปาลี “การจัดทำคลังข้อมูลชุมชนบ้านห้วยปูแกง ตำบลผาบ่อง อำเภอเมือง จังหวัดแม่ฮ่องสอน” วารสารกระแสวัฒนธรรม. ปีที่ 23 ฉบับที่ 44 กรกฎาคม –ธันวาคม 2565. หน้า 19 – 33. (TCI1)
  • ระพีพันธ์ ศิริสัมพันธ์ และรชพรรณ ฆารพันธ์ “การผลิตชุดความรู้ภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมสำหรับชุมชน: วิถีชีวิต วิถีพอเพียง ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” วารสารช่อพะยอม. ปีที่ 29 ฉบับที่ 1 มกราคม – พฤษภาคม 2561. หน้า 453 – 462. (TCI2)
  • ฉลาด จันทรสมบัติ และรชพรรณ ฆารพันธ์ “การพัฒนาหลักสูตรนักจัดการความรู้ผู้นำ ศูนย์การเรียนรู้พึ่งพาตนเอง ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง”, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2558. หน้า 33 – 54. (TCI2)

การตีพิมพ์บทความ (ฐานข้อมูล Scopus/ISI)

  • Ratchapan Karapan, Archabaramee Maneetrakunthong, Panot Susuwan. “The Development of Naturally Dyed Indigo Fabric Products for the Thai Phuan Weaving Group of Ban Thung Hong, Thailand.” The International Journal of Designed Objects, Volume 15, Issue 1, 2021, Page 29-44. (SCOPUS Q2, ISSN 2325-1379)
  • Ratchapan Karapan, Panot Susuwan. Dynamics and adaptation of the Phuan ethnic group in Thailand. JATI-Journal of Southeast Asian Studies, Volume 26, Issue 1, June 2021, Page 141-162 (ISI Q3, ISSN 1823-4127)
  • Ratchapan Karapan, Korawan Sangkakorn, Sansanee Krajangchom, Srichana Jaroennet. Prototype Development of A Creative Living Space in Lampang, Northern Thailand. JATI-Journal of Southeast Asian Studies, Volume 27, Issue 2, December 2022, Page 1-21 (ISI Q3, ISSN 1823-4127)

หนังสือ

  • สุดารัตน์ อุทธารัตน์, รชพรรณ ฆารพันธ์, นิเวศน์ พูนสุขเจริญ, สามารถ สุวรรณรัตน์. (2565). เชียงใหม่นครแห่งการเรียนรู้เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ และพัฒนาพื้นที่แห่งการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมเมือง. โรงพิมพ์ บริษัท นายทำถูก จำกัด (สำนักงานใหญ่), ISBN : 978-616-398-702-0
  • รชพรรณ ฆารพันธ์. (2562). หนังสือภาพถ่าย วิถีชาวพวน แพร่ อุดรธานี สุพรรณบุรี เพชรบุรี. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. โรงพิมพ์ บริษัท นายทำถูก จำกัด (สำนักงานใหญ่), ISBN : 978-616-485-677-6, SRI-CMU-2562-04-003
  • วิชุลดา มาตันบุญ และ รชพรรณ ฆารพันธ์. 2560. ชาวพวนทุ่งโฮ้ง จังหวัดแพร่. สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, SRI-CMU-2560-09-009

ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

ฐานข้อมูลนักวิจัย สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

https://www.sri.cmu.ac.th/