สุริชัย หวันแก้ว

ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ "The Order of the Rising Sun, Gold Rays with Rosette" เมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ซึ่งรัฐบาลญี่ปุ่นได้ประกาศมอบแก่ชาวต่างประเทศผู้มีผลงานที่โดดเด่นในสาขาของตน ประจำฤดูใบไม้ร่วง พ.ศ. 2566 จากผลสำเร็จในการส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศญี่ปุ่นและประเทศไทย ทั้งยังมีส่วนในการพัฒนาการวิจัยด้านญี่ปุ่นศึกษาในประเทศไทย นอกจากนี้ยังมีส่วนสำคัญในการพัฒนาและสร้างเครือข่ายนักวิจัยรุ่นใหม่

98 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • ได้รับครื่องราชอิสริยาภรณ์ "The Order of the Rising Sun, Gold Rays with Rosette" จากรัฐบาลญี่ปุ่น
  • ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมนุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (พ.ศ. ๒๕๔๙-๒๕๕๐)
  • ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ผู้อำนวยการและผู้ก่อตั้งหลักสูตรการพัฒนาระหว่างประเทศมหาบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รองคณบดีฝ่ายวิจัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รองผู้อำนวยการฝ่ายวิจัย สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กรรมการสภาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • กรรมการและเลขานุการร่วมของคณะกรรมการอิสระเพื่อสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.) ในการแก้ไขปัญหาความไม่สงบในภาคใต้
ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก : สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
  • ปริญญาโท : สาขาสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น
ตำแหน่งทางวิชาการศาสตราจารย์กิตติคุณ
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันศูนย์ศึกษาสันติภาพและความขัดแย้ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
อีเมลsurichai1984@yahoo.com, Surichai.W@chula.ac.th
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

รายงานวิจัย

  • สุริชัย หวันแก้วและอื่น ๆ. (2552). โครงการถอดบทเรียนการดำเนินงานจัดระเบียบสังคมแบบบูรณาการ : รายงานฉบับสมบูรณ์. : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้วและอื่น ๆ. (2551). โครงการวิจัยรูปแบบการทำงานป้องกันในเยาวชนกลุ่มพฤติกรรมเสี่ยง : รายงานฉบับสมบูรณ์. : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2544). กระบวนการกลายเป็นคนชายขอบ: รายงานวิจัย. : ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ปรีชา คุวินทรพันธุ์, สุริชัย หวันแก้ว, และ ฉันทนา บรรพศิริโชติ. (2543). แบบแผนการเรียนรู้เกี่ยวกับชนบทไทยในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : รายงานการศึกษา. : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2543). แบบแผนการเรียนรู้เกี่ยวกับชนบทในมหาวิทยาลัยไทย : สังเคราะห์ในภาพรวม : รายงานการวิจัย (ฉบับสมบูรณ์) : โครงการวิจัยแบบแผนการเรียนรู้เกี่ยวกับชนบทไทย ทบวงมหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้ว, ปรีชา คุวินทรพันธุ์, และ ประสิทธิ์ สวาสดิ์ญาติ. (2543). ผลกระทบทางสังคมจากการพัฒนาอุตสาหกรรมชายฝั่งทะเลตะวันออก ต่อชุมชนท้องถิ่น : รายงานผลการวิจัย. : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ฉันทนา หวันแก้ว, และ สุริชัย หวันแก้ว. (2540). ความคิดของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม : รายงานผลการวิจัย : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
  • สุริชัย หวันแก้วและอื่น ๆ. (2539). โครงการการศึกษาเพื่อกำหนดกรอบการวางแผนพัฒนากรุงเทพมหานคร ฉบับที่ 5 : รายงานผลการศึกษาฉบับสมบูรณ์ : สำนักนโยบายและแผนกรุงเทพมหานคร.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2530). ความช่วยเหลือจากญี่ปุ่น : การบริหารงานและผลกระทบต่อการพัฒนา : รายงานผลการวิจัย. : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2528). บทเรียนเชิงกลยุทธการพัฒนา : รายงานการวิจัย. : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

หนังสือ/ตำรา

  • สุริชัย หวันแก้ว. (2553). สี่องค์กรเพื่อสิ่งแวดล้อมศึกษา การเรียนรู้เพื่อความพอเพียง. พิมพ์ครั้งที่ 1 : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้วและอื่น ๆ. (2552). ความมั่นคงของมนุษย์ในสังคมไร้พรมแดน. พิมพ์ครั้งที่ 1 : ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ.
  • สุริชัย หวันแก้ว, และ กนกพรรณ อยู่ชา. (2552). ศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย บนความหลากหลายและสับสน. พิมพ์ครั้งที่ 1 : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2551). กฎหมายเพื่อพัฒนาสังคม : อุปสรรคอยู่ที่ไหน? : บันทึกการสัมมนา วันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2551 ณ ห้องประชุมจุมภฎ-พันธุ์ทิพย์ อาคารประชาธิปก-รำไพพรรณี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 1 : คณะนิติศาสตร์ ; สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2551). กำเนิดไฟใต้. พิมพ์ครั้งที่ 2 : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2551). ร่างแผนหลักสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (พ.ศ. 2551-2555). พิมพ์ครั้งที่ 1 : สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2550). กำเนิดไฟใต้. พิมพ์ครั้งที่ 1 : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.สุริชัย หวันแก้ว. (2550). คนชายขอบ : จากความคิดสู่ความจริง. พิมพ์ครั้งที่ 1 : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2550). ศึกษา รู้จัก วิพากษ์ คนชั้นกลาง : รวมบทความจากการสัมมนาทางวิชาการ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. พิมพ์ครั้งที่ 1 : มิสเตอร์ก๊อปปี้.
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2550). ถามท้าโลกาภิวัตน์. พิมพ์ครั้งที่ 1 : ศูนย์ศึกษาการพัฒนาสังคม คณะรัฐศาสตร์ จุฬาฯ.

บทในหนังสือ

  • สุริชัย หวันแก้ว. (2550). บัญญัติ 10 ประการ : รัฐไทยกับการการแก้ปัญหาภาคใต้. ใน ยุติไฟใต้, สุริชัย หวันแก้ว, บก. พิมพ์ครั้งที่ 1. : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2549). เมืองไทยในฐานะสังคมเสี่ยงภัย : ทีทรรศน์ทางสังคมวิทยาว่าด้วยกระแสโลกาภิวัตน์. ใน อยู่ชายขอบ มองลอดความรู้ : รวมบทความเนื่องในวาระครบรอบ 60 ปี ฉลาดชาย รมิตานนท์, อานันท์ กาญจนพันธุ์, บก. พิมพ์ครั้งที่ 1. : มติชน
  • สุริชัย หวันแก้วและอื่น ๆ. (2547). สังคมและวัฒนธรรม. ใน การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม : คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2547). มหาวิทยาลัยบนเส้นทางสู่สันติภาพ : ประชาคมมีความรู้สึกนึกคิดต่อสังคมร่วมกันได้หรือไม่. ใน โลกภายใต้เงามืด : ก่อนและหลังการรุกรานอิรัก, กนกพรรณ อยู่ชา, บก. : สถาบันเอเชียศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2546). ความคิดของผู้ใหญ่วิบูลย์ เข็มเฉลิม. พิมพ์ครั้งที่ 1 : ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนป่าตะวันออก (วนเกษตร)
  • Surichai Wun'Gaeo. (2002). The social and academic construction and critique of hegemony. In Hegemony, technocracy, networks :|bpapers presented at Core University Program Workshop on networks, hegemony and technocracy, Kyoto, March 25-26 2002, Takeshi Hamashita, ed. 1st ed. Bangkok : The Networks
  • Surichai Wun'Gaeo. (2002). Thailand's decentralization in the context of globalization. In 0 Decentralization in the age of Asia and the Pacific. 1st ed. Bangkok : Asian-Pacific Center
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2543). โลกาภิวัตน์กับทีทรรศน์สังคมวิทยา. ใน สถานภาพและทิศทางงานวิจัยเกี่ยวกับพลวัตการปรับตัวของสังคมไทย : ภาคใต้ :|bการสัมมนาวิชาการประจำปี 2543 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม 2543 ณ โรงแรมไดมอนด์ พลาซ่า หาดใหญ่ สงขลา. พิมพ์ครั้งที่ 1 : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2543). พลวัตการปรับตัวของสังคมไทย : เวทีภาคใต้. ใน สถานภาพและทิศทางงานวิจัยเกี่ยวกับพลวัตการปรับตัวของสังคมไทย : ภาคใต้ : การสัมมนาวิชาการประจำปี 2543 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ร่วมกับ คณะกรรมการสภาวิจัยแห่งชาติ สาขาสังคมวิทยา วันเสาร์ที่ 20 พฤษภาคม 2543 ณ โรงแรมไดมอนด์ พลาซ่า หาดใหญ่ สงขลา. พิมพ์ครั้งที่ 1 : คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
  • สุริชัย หวันแก้ว. (2543). มองโลกาภิวัตน์ลอดรูเข็ม : ความสำคัญของท้องถิ่นและพื้นที่เฉพาะ. ใน ท้องถิ่น-อินเดีย, เรืองวิทย์ ลิ่มปนาท, บก. พิมพ์ครั้งที่ 1 : คณะศิษย์ประวัติศาสตร์บางแสน
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิง

สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)

ห้องสมุดคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย