พนา กันธา

นักวิชาการอิสระ จบการศึกษา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มีผลงานวิชาการหลากหลาย อาทิ บทความ หลากสายพันธุ์นิพนธ์: วิธีวิทยาเกี่ยวกับโลกหลากสายพันธุ์, การเคลื่อน (แต่ไม่ข้าม) ของขอบเขตระหว่างมนุษย์กับสัตว์ในช่วงการระบาดของ โควิด-19

531 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • 2564 - ปัจจุบัน : ผู้ช่วยนักวิจัย การประเมินผลโครงการ Enhancing Capacity of People’s Networks to Promote Justice in Access to Universal and Sustainable Social Welfare System
  • 2564 - ปัจจุบัน : ผู้ช่วยนักวิจัย โครงการ “ผลกระทบของยุทธศาสตร์หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทางใน สปป.ลาว ต่อการเปลี่ยนแปลงของการค้าวัวข้ามแดนในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง” ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนและทุนด้านการพัฒนา สถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) ประจำปีงบประมาณ 2565
  • 2564 - ปัจจุบัน : ผู้ช่วยนักวิจัย โครงการ “ภูมิปัญญานิเวศของกลุ่มชนนากา: ทรัพยากร โลกทัศน์ และวัฒนธรรมทางวัตถุ” ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (ประเภท Fundamental Fund ประจำปี งบประมาณ 2565)
  • 2564 : อาจารย์พิเศษ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี รับผิดชอบรายวิชา “สวัสดิการสังคม” หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน (ภาคพิเศษ) ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564
  • 2563 - 2564 : หัวหน้าโครงการวิจัย “พื้นที่ประชิดขอบ : เงื่อนไขทางจริยศาสตร์ของการดำรงอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับสัตว์” (ได้รับการสนับสนุนทุนวิจัยจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการ พัฒนากำลังคนและทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) ประจำปีงบประมาณ 2563
  • 2562 - 2563 : ผู้ช่วยนักวิจัย โครงการ “กระบวนการสร้างมูลค่าวัวควายในประเทศไทย : เครือข่ายและตัวแสดงจากชายแดนแม่สอดถึงเชียงราย” สัญญาเลขที่ RDG6210008 ได้รับการสนับสนุนจาก สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
ตำแหน่งทางวิชาการนักวิชาการอิสระ
อีเมลmynameispana@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจAnimality, Ecology, Multispecies Ethnography, Animal Studies
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

บทความวิชาการ

  • พนา กันธา. (2565). หลากสายพันธุ์นิพนธ์ : วิธีวิทยาเกี่ยวกับโลกหลากสายพันธุ์. ใน ยุกติ มุกดาวิจิตร และชัชชล อัจนากิตติ บก., มานุษยวิทยาพ้นมนุษย์ (95-126). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
  • พนา กันธา. (2563). การเคลื่อน (แต่ไม่ข้าม) ของขอบเขตระหว่างมนุษย์กับสัตว์ในช่วงการระบาดของโควิด-19. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16 (2): 119-148.
  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ และพนา กันธา. (2563). ระบบนายหน้าค้าวัวควายข้ามแดน: การค้าแบบกึ่งทางการ ความเสี่ยง และอำนาจที่เหลื่อมล้ำ. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 11 (2): 141-160.
  • พนา กันธา. (2560). พหุภววิทยาในโลกคู่ขนานระหว่างสัตว์กับมนุษย์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 13 (2): 5-24.
  • พนา กันธา. (2560). เมื่อเราต่างก็ดำรงอยู่: ภววิทยาแบบวิญญาณนิยมในโลกคู่ขนานระหว่างสัตว์กับมนุษย์. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 11 “เปิดโลกสุนทรีย์ในวิถีมนุษยศาสตร์”. 8-9 กันยายน 2560 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร, 618-630.
  • พนา กันธา. (2560). “หมา”: ประวัติศาสตร์ว่าด้วยสัตว์เลี้ยงที่ไม่ใช่แค่การเลี้ยงสัตว์. วารสารประวัติศาสตร์, 42: 166-182.
  • พนา กันธา. (2559). ข้อเสนอเบื้องต้นว่าด้วยสังคมวิทยาหลังมนุษยนิยมในการศึกษาวัฒนธรรมสัตว์เลี้ยง. อกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยาและสังคมวิทยาภาคใต้ ครั้งที่ 2 “ศาสตร์แห่งการจำ ศิลป์แห่งการลืม”เล่ม 2. 25-27 สิงหาคม 2559 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 65-79.

ผลงานหนังสือ

  • เก่งกิจ กิติเรียงลาภ และพนา กันธา. (2565). Pluriverse : จริยศาสตร์แห่งการอยู่ร่วมกันข้ามพรมแดนความเป็นมนุษย์. กรุงเทพฯ: โครงการวิจัย “อยู่ร่วมกัน: บรรทัดฐานทางจริยธรรมข้ามพรมแดนความเป็นมนุษย์” ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคนและทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.)
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)