สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์

ผู้ช่วยศาสตราจารย์/อาจารย์ประจำสาขาวิชาการจัดการภูมิวัฒนธรรม ประจำวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตชุมชนการเรียนรู้สมเด็จย่า วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มศว แม่แจ่ม เชี่ยวชาญและสนใจในประเด็นมานุษยวิทยาประยุกต์ ชาติพันธุ์ศึกษาและการพัฒนา

2067 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประสบการณ์ด้านการบริหาร

  • 2564 : รักษาการผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตชุมชนการเรียนรู้สมเด็จย่า วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มศว แม่แจ่ม
  • 2560 - ปัจจุบัน : ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิสร้างสรรค์ชาติพันธุ์อาเซียน
  • 2563 : รักษาการรองคณบดีฝ่ายจัดการเครือข่ายชุมชน วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2559 - 2562 : รักษาการผู้อำนวยการศูนย์การจัดการภูมิวัฒนธรรม วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2558 - 2563 : ประธานหลักสูตรการจัดการภูมิวัฒนธรรม วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2558 - 2562 : รองคณบดีฝ่ายจัดการเครือข่ายชุมชน วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2557 - ปัจจุบัน : กรรมการเลขานุการสมาคมกะเหรี่ยงแบ๊พติสสากล
  • 2552 - ปัจจุบัน : รองประธานกรรมการบริหารมูลนิธิส่งเสริมสิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมเอเซียตะวันออกเฉียงใต้
  • 2548 - 2555 : ประธานกรรมการบริหารมูลนิธิภูมิปัญญาชาติพันธุ์

ประสบการณ์ด้านการสอนระดับอุดมศึกษา

  • 2554 - ปัจจุบัน : อาจารย์ประจำหลักสูตรการจัดการภูมิวัฒนธรรม วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยเป็นผู้รับผิดชอบหลักรายวิชาในระดับปริญญาตรี ได้แก่ การศึกษาชาติพันธุ์ ชนพื้นเมือและชุมชนชายขอบ, ประวัติศาสตร์ชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่น, โครงสร้างและการจัดการชุมชน, การจัดการแหล่งเรียนรู้เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน, การวิจัยเพื่อการจัดการภูมิวัฒนธรรม, การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม และ การสื่อสารระหว่างวัฒนธรรมอย่างสันติ
  • 2562 - 2564 : เป็นอาจารย์พิเศษระดับปริญญาเอก รายวิชา การสัมมานาทางชุมชน สังคมและวัฒนธรรม หลักสูตรศิลปวัฒนธรรมวิจัย คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2563 - 2564 : เป็นอาจารย์พิเศษในระดับปริญญาโท รายวิชาภูมิปัญญาไทย (หัวข้อ ภูมิปัญญากับการจัดการตนเอง: ที่มา พื้นฐาน หลักการ และปฏิบัติการ) หลักสูตรการพัฒนาภูมิสังคมอย่างยั่งยืน คณะผลิตกรรมการเกษตร มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • 2562 - 2564 : อาจารย์พิเศษในระดับปริญญาตรี รายวิชาการสื่อสารระหว่างวัฒนธรรม เอกการศึกษาเพื่อการพัฒนาชุมชน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2562 - 2564 : อาจารย์พิเศษ รายวิชา Trends on Lifelong Education in ASEAN (หัวข้อ การศึกษาเพื่อชาติพันธุ์และชุมชนชายขอบ) เอกการศึกษาผู้ใหญ่ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ประสบการณ์ด้านงานวิจัย

  • 2564 : ผู้ร่วมโครงการจัดทำแผนบูรณาการด้านวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ภาคเหนืออย่างยั่งยืน (ผู้ร่วมวิจัย) โดยวิทยาลัยบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ร่วมกับสํานักงานคณะกรรมการ ส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) กลุ่มภารกิจ นโยบาย ยุทธศาสตร์และแผน วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (แผนด้าน ววน.)
  • 2564 : โครงการสื่อนิเวศพหุวัฒนธรรมกับเมือง สนับสนุนโดยมูลนิธิสื่อสร้างสรรค์เด็กและเยาวชน
  • 2564 : โครงการสังเคราะห์และติดตามประเมินผลกระบวนการพัฒนาศักยภาพผู้นำองค์กรชุมชน ภาคเหนือ สนับสนุนโดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
  • 2564 : โครงการ Community-Centric Cultural Sustainability Framework: The Case of Mae Chaem District, Chiang Mai, Thailand Supported by KhonThai 4.0 Program and Office of Academic Exchange Programs in the Bureau of Educational and Cultural Affairs (ECA), the U.S. Embassy, Thailand.
  • 2564 : หัวหน้าโครงการกระบวนการเตรียมความพร้อมชุมชนในการสถาปนาเขตวัฒนธรรมพิเศษชุมชนปกาเกอะญอบ้านแม่ปอคี ตำบลท่าสองยาง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก งบประมาณจาก ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • 2562 : หัวหน้าโครงการโครงการส่งเสริมการอนุรักษ์เมล็ดพันธุ์พืชผักพื้นบ้านเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและนิเวศวัฒนธรรมของชุมชนตำบลแก่นมะกรูด อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี งบประมาณจาก สถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
  • 2561 : หัวหน้าโครงการวิจัย การศึกษาเรื่องไผ่ ในวิถีชุมชนปกาเกอะญอ: การจัดการไผ่เพื่อเศรษฐกิจทางเลือกตามภูมิปัญญาชุมชนปกาเกอะญอห้วยกระทิง งบประมาณจาก ศูนย์มานุษยวิทยาสิริธร (องค์การมหาชน)
  • 2561 : หัวหน้าโครงการวิจัย ถอดความหมายและจัดทำทะเบียนสิ่งของในพิพิธภัณฑ์เชิงนิเวศชุมชน กะเหรี่ยง วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มศว แม่สอด งบประมาณจาก เงินรายได้คณะวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2560 : หัวหน้าโครงการวิจัยภาษาเพื่อการสื่อสารกับกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดตาก (ทุนวิจัยงบประมาณ องค์การบริหารส่วนจังหวัดตาก (อบจ.ตาก)
  • 2560 - 2562 : หัวหน้าโครงการหนุนเสริมนักวิจัยท้องถิ่นชุมชนกะเหรี่ยง 5 อำเภอชายแดน จังหวัดตาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ฝ่ายท้องถิ่น
  • 2560 : หัวหน้าโครงการวิจัย ผ้าทอกะเหรี่ยงจังหวัดตาก เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม สนับสนุนโดยสำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดตาก กระทรวงวัฒนธรรม
  • 2559 : หัวหน้าโครงการวิจัยรูปแบบเขตสังคมและวัฒนธรรมพิเศษชุมชนปกาเกอะญอฤๅษีคนต้นทะเล บ้านมอทะ-หม่องกว๊ะ ตำบลแม่จัน อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก สนับสนุนโดย เครือข่ายกะเหรี่ยงเพื่อวัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม เขตตาก
  • 2559 : หัวหน้าโครงการวิจัย ทุนทางวัฒนธรรมชุมชนชาติพันธุ์ที่เอื้อต่อการท่องเที่ยวในเขตเศรษฐกิจพิเศษ สนับสนุนโดย สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
  • 2558 : หัวหน้าโครงการวิจัย การศึกษาตำนานของข้าว ในวัฒนธรรมปกาเกอะญอ สนับสนุนโดยมูลนิธิสร้างสรรค์ชาติพันธุ์อาเซียน
  • 2557 : หัวหน้าโครงการวิจัย เชซู พื้นที่และบทบาทแสดงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ สนับสนุนโดยมูลนิธิช่วยเหลือเด็กชายแดน จังหวัดตาก
  • 2556 : หัวหน้าโครงการวิจัย อัตลักษณ์เครื่องดนตรีที่สร้างจากไม้ไผ่เพื่อนำไปใช้สำหรับศิลปะการแสดงของกลุ่มชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ งบประมาณเงินรายได้ ประจำปีงบประมาณ 2555 วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2554 : Education and structural violence in case study of: School of Karen community in the north of Thailand, Pestalozzi children foundation, Switzerland.
  • 2552 - 2553 : หัวหน้าโครงการวิจัย แนวทางในการพัฒนาพื้นที่มือเจะคี (ขุนน้ำแจ่ม) โดยการมีส่วนร่วมชุมชน สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุกการวิจัย (สกว.ภาคเหนือ)
  • 2551 : ผู้ประสานงานโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ การรื้อฟื้นพื้นที่แหล่งต้นน้ำเพื่อการเกษตรแบบสหภูมิปัญญา สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.)
  • 2548 : หัวหน้าโครงการวิจัย ถอดองค์ความรู้สภาองค์กรชุมชนปกาเกอะญอ สนับสนุนโดย วิทยาลัยการจัดการทางสังคม (ภาคเหนือ)
  • 2544 - 2546 : หัวหน้าโครงการวิจัย การจัดการศึกษาเพื่อรื้อฟื้นวิถีชีวิตชุมชน ปกาเกอะญอ บ้านใหม่พัฒนา อ.แม่แจ่ม จ. เชียงใหม่ สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุกการวิจัย (สกว.ภาคเหนือ)
ประวัติการศึกษา
  • 2559 : ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาศิลปวัฒนธรรมวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • 2550 : ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการศึกษานอกระบบ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2547 : ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาชุมชน สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
  • 2554 : Diploma Certificate of Intercultural Education, Pestalozzi Children Foundation. Switzerland.
  • 2543 : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาช่างไฟฟ้ากำลัง วิทยาลัยเทคนิคเชียงใหม่
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อีเมลsuwichan@g.swu.ac.th, chipgazknyau@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจมานุษยวิทยาประยุกต์, ชาติพันธุ์ศึกษาและการพัฒนา
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

บทความ

  • Phatthanaphraiwan,S &. Fairfield,B.(2019).The Instrument as Instrumental: Pgaz k’Nyau Bamboo Musicking and Karen Eco-Friendliness. Malaysian Journal of Music: Vol 8 (2019) 68-85.
  • Phatthanaphraiwan,S &. Fairfield,B.(2018).The Cultural Capital of Ethnic Communities as Contributing to Grassroots Economic Development in the Special Economic Zone. ENITS Scholarship Conference, Empowering Network for International Thai Studies (ENITS). Institute of Thai Studies, Chulalongkorn University. Le Meridian Bangkok Hotel. August 17, 2018
  • สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์.(2561). การศึกษาตำนานของข้าว ในวัฒนธรรมปกาเกอะญอ. ารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีที่ 13 ฉบับที่ 2 ประจำเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2561
  • สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์.(2561). รูปแบบเขตสังคมและวัฒนธรรมพิเศษชุมชนปกาเกอะญอฤๅษีคนต้นทะเล บ้านมอทะ-หม่องกว๊ะ ตำบลแม่จัน อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก. วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2561
  • สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์.(2561). เชซู พื้นที่แสดงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ปกาเกอะญอผ่านการแต่งกายของแม่บ้าน. ในรายงานการประชุมวิชาการ "มศว. วิจัย" ครั้งที่ 8; 2557 พฤศจิกายน 26-27.

ตำรา/หนังสือ

  • สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์, สงกรานต์ หทัยภัสสร, นฤมล แดนพงพี. (2561). คู่มือภาษาเพื่อการสื่อสารกับกลุ่มชาติพันธุ์ในจังหวัดตาก. ตาก : โชติการพิมพ์.
  • วิชาน พัฒนาไพรวัลย์, สงกรานต์ หทัยภัสสร, นฤมล แดนพงพี. (2560). เศรษฐกิจสร้างสรรค์บนฐานอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม. เชียงใหม่ : แม๊กซ์พริ้นติ้ง
  • วิชาน พัฒนาไพรวัลย์. (2557). เพลงต้องห้ามของคนปกาเกอะญอ. กรุงเทพฯ : สันติศิริการพืมพ์
  • วิชาน พัฒนาไพรวัลย์ และคณะ. (2556). องค์ความรู้ในการบริหารจัดการชุมชนผ่านโครงสร้างทางสังคมและวัฒนธรรมตามวัฒนธรรมชุมชนอำเภออุ้มผาง กรณีศึกษา : บ้านมอทะ-หม่องกว๊ะ ต.แม่จัน อ.อุ้มผาง จ.ตาก. เชียงใหม่ : แม๊กพริ้นติ้ง.
  • วิชาน พัฒนาไพรวัลย์. (2556). มือเจะคี ต้นน้ำแห่งภูมิปัญญา. กรุงเทพฯ : สันติศิริการพิมพ์.
  • วิชาน พัฒนาไพรวัลย์. (2554). เราคือเตหน่ากู. ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. สันติภาพการพิมพ์.

ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการและนำเสนอในการประชุมวิชาการ

  • 2564 : เกศสุดา สิทธิสันติกุล, สมคิด แก้วทิพย์, สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์และพงศกร กาวิชัย. แนวโน้มสถานการณ์และทิศทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เชิงยุทธศาสตร์สำหรับภาคเหนือ. วารสารวิชาการวิทยาลัยบริหารศาสตร์ ปีที่ 4 ฉบับที่ 4 (ตุลาคม– ธันวาคม 2564)(1-15)
  • 2562 : Suwichan Phatthanaphraiwan and Benjamin Stuart Fairfield. The Instrument as Instrumental: Pgaz k’Nyau Bamboo Musicking and Karen Eco-Friendliness. Malaysian Journal of Music: Vol 8 (2019) 68-85.
  • 2562 : Suwichan Phatthanaphraiwan. Kho Pho Lu: A sacred space for the protection of Pgaz k’Nyau forest-community symbiosis. Transforming Forests and Forestry through Indigenous and Local Knowledges: Reciprocity and Relationship Building in Forests Ecosystems Conference University of British Columbia. Vancouver, BC. August 21-23, 2019.
  • 2561 : Suwichan Phatthanaphraiwan and Benjamin Stuart Fairfield. The Cultural Capital of Ethnic Communities as Contributing to Grassroots Economic Development in the Special Economic Zone. ENITS Scholarship Conference, Empowering Network for International Thai Studies (ENITS).
  • Institute of Thai Studies, Chulalongkorn University. Le Meridian Bangkok Hotel. August 17, 2018
  • 2561 : สุวิชาน พัฒนาไพรวลัย์. การศึกษาตำนานของข้าว ในวัฒนธรรมปกาเกอะญอ วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ปีที่ 13 ฉบับที่2 ประจำเดือนพฤษภาคม-สิงหาคม 2561(301-312).
  • 2561 : สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์. รูปแบบเขตสังคมและวัฒนธรรมพิเศษชุมชนปกาเกอะญอฤๅษีคนต้นทะเล บ้านมอทะ-หม่องกว๊ะ ตำบลแม่จัน อำเภออุ้มผาง จังหวัดตาก วารสารวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปีที่ 9 ฉบับที่ 1 ประจำเดือนมกราคม-มิถุนายน 2561 (195-257).
  • 2560 : Suwichan Phatthanaphraiwan and Benjamin Stuart Fairfield. Pgaz k’ Nyau Bamboo: An Ethnographic Study of Karen Instruments, Nature, Identity, and Culture. School of Pacific and Asian Studies 2017 Graduate Student Conference. “BRIDGING THE GAPS: CONCEPTUALIZING ASIA THROUGH AN INTERDISCIPLINARY LEN”. Center for Korean Studies Honolulu, Hawaii University. March 22-24, 2017
  • 2559 : Suwichan Phatthanaphraiwan. Education and structural violence in case study of: School of Karen community in the north of Thailand. Mekong-Salween Civilization Study Journal. Vol 7 (2) Jul-Dec. 2016.(69-94).
  • 2557 : สุวิชาน พัฒนาไพรวัลย์. เชซู พื้นที่และบทบาทแสดงอัตลักษณ์ชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ การประชุมวิชาการ มศว ครั้งที่ 8 วันที่ 26-27 พฤศจิกายน 2557 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล
วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
https://bodhi.swu.ac.th/