ผลงานวิชาการที่สำคัญ | - บุษยมาส นวนงาม และภาคภูมิ สุขเจริญ. (2023). ครุฑา: การประกอบสร้างอัตลักษณ์ตัวละครครุฑในนวนิยายชุดหิมวันต์รัญจวน. สักทอง: วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร. 29(3), (TCI1)
- Kham, N. W., & Sookcharoen, P. (2023). การศึกษาองค์ประกอบของนิทานแบบตัวเอกเจ้าปัญญาฉลาดแกมโกง เรื่องสกาต่องซา ของประเทศเมียนมา. วารสารศิลปศาสตร์ปริทัศน์, 18(1), 144-158.
- ธีรภัทร คำทิ้ง และภาคภูมิ สุขเจริญ. (2564). ประเพณีบุญหลวงและการละเล่นผีตาโขน อำเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย : บทบาทหน้าที่ในสถานะประเพณีประดิษฐ์ภายใต้สถานการณ์โควิด-19. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 41 ฉบับที่ 1 มกราคม-มีนาคม 2564
- ภาคภูมิ สุขเจริญ. (2564). สถานภาพและบทบาทของประเพณีท้องถิ่นจังหวัดพิษณุโลก. โขง-สาละวิน: วารสารอารยธรรมศึกษา. ปีที่ 12, ฉบับที่ 2: กรกฎาคม-ธันวาคม 2564.
- ภาคภูมิ สุขเจริญ. (2562). การปรากฏใหม่ภายใต้การรับรู้เดิมของวรรณกรรมไทยในบทเพลงไทยสากล. สักทอง : วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ปีที่ 25, ฉบับพิเศษที่ 4 : ตุลาคม-ธันวาคม 2562.
- ภาคภูมิ สุขเจริญ. (2560). แมว : หน้าที่เชิงสัญลักษณ์ที่ปรากฏในประเพณีชีวิตของคนไทย. ใน : การประชุมสวนสุนันทาวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 6 พ.ศ. 2560. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, กรุงเทพมหานคร. 1184-1192.
- ภาคภูมิ สุขเจริญ. (2559). การวิเคราะห์การละเล่นพื้นเมืองของเด็กอำเภอทุ่งเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย. ศรีวนาลัยวิจัย. ปีที่ 6, ฉบับพิเศษที่ 1/2559 : 60-69.
|
---|