ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี

อาจารย์พิเศษ ภาควิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชี่ยวชาญด้านจารึกและเอกสารโบราณ, เพลงพื้นบ้าน, คำประพันธ์ร้อยกรอง, ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น

742 views


ประวัติการศึกษา
  • พ.ศ.2550
    • ปริญญาตรี ศึกษาศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ.2555
    • ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (จารึกศึกษา) คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • พ.ศ.2562 - ปัจจุบัน
    • ปริญญาเอก สาขาวิชาจารึกภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะ โบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาหลักสูตร การสอนและการเรียนรู้ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อีเมลnuttapong.pun@cmu.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจจารึกและเอกสารโบราณล้านนา, ภาษากับวัฒนธรรมล้านนา, คติชนกับประเพณีและความเชื่อล้านนา, การขับขานวรรณกรรมล้านนา, คำประพันธ์ร้อยกรองล้านนา
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

บทความวิชาการ

  • ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2560. รูปแบบฉันทลักษณ์ร้อยกรองที่ได้จากการศึกษาข้อความในจารึกจังหวัดเชียงใหม่. วารสารดำรงวิชาการ. ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2560): 87-114. (TCI 1)
  • ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2560. วิถีการดำรงอยู่ของการขับขานกะโลง. วารสารวิจิตรศิลป์. ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2560): 203-235. (TCI 1)
  • ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2562. การศึกษาวิเคราะห์คำซ้อนในค่าวซอเรื่องพระอภัยมณีและศรีสุวัณณ์. วารสารวิจัยราชภัฏเชียงใหม่. ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2562): 115-131. (TCI 2)
  • ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2563. การศึกษารูปแบบฉันทลักษณ์ร้อยกรองที่ปรากฏในจารึกเมืองเชียงตุง. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. (TCI 2)
  • ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2563. การวิเคราะห์รูปแบบการศึกษาวรรณกรรมค่าวของล้านนา. ศึกษาศาสตร์สาร. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2563): 111-125. (TCI 2)

หนังสือ

  • ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2555. กวีขับขาน ณ ลานเชิงดอย. เชียงใหม่: แม็กซ์พริ้นติ้ง.
  • ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2557. นิทานเพื่อการเรียนรู้ภาษาล้านนา เรื่องเต่าน้อยอองคำ. เชียงใหม่: สำนักส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2562. วรรณกรรมในสมัยพระราชชายาเจ้าดารารัศมี. เชียงใหม่: ลานนาการพิมพ์.
  • ณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2564. ดุริย-นาฏศิลป์แผ่นดินอภินวบุรี-ศรีหริภุญชัย. ใน วินัย พงศ์ศรีเพียร (บรรณาธิการ), ล้านนามหาปกรณัมความทรงจำแห่งอภินวบุรี-ศรีหริภุญชัย ประวัติศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม. (น.259 – 300) กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ และณัฐพงษ์ ปัญจบุรี. 2565. ตำนานพระเจ้าเลียบโลก ฉบับวัดพระเกิด ตำบลในเวียง อำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน. กรุงเทพฯ: อี.ที.พับลิชชิ่ง.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล
ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://www.arts.chula.ac.th/folklore/