ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ เชี่ยวชาญทฤษฎีทางคติชนวิทยา วรรณคดีไทย ความเชื่อและพิธีกรรม ไทยศึกษา การวิจัยทางคติชนไทย

474 views


ประวัติการศึกษา
  • 2554 : อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อ.ด.) ภาษาไทย (คติชนวิทยา) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2538 : อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (อ.ม.) ภาษาไทย (วรรณคดีไทย) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2528 : ครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) ภาษาไทย คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยครูสกลนคร
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อีเมลpanupong@g.swu.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจวรรณคดีไทย, ทฤษฎีทางคติชนวิทยา, ความเชื่อและพิธีกรรม, ไทยศึกษา, การวิจัยทางคติชนไทย
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • อาธิป เรืองนาม และ ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์. 2566. สัญลักษณ์ในพิธีกรรมเลี้ยงผีที่บ้านสิงห์ ตำบลสิงห์ อำเภอเมืองยโสธร จังหวัดยโสธร. วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ. 24 (2) (มกราคม – มิถุนายน): 23-37.
  • อติวิชญ์ เซี่ยงคิ้ว และ ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์. แบบเรื่องมรณสักขี: การสละชีพเพื่อศาสนาในเรื่องเล่าศาสนบุคคลในคริสต์ศาสนนิกายโรมันคาทอลิกในนิตยสารอุดมศานต์. ทีทัศน์วัฒนธรรม 21 ( 2) ( กรกฎาคม – ธันวาคม) 2665. 19-42.
  • ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์. “พิธีกรรม “กินดอง”: บทบาทต่อชาวบ้านในชุมชนอำเภอเมืองหนองบัวลาภู จังหวัดหนองบัวลาภู”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 39 (2) (พฤษภาคม – สิงหาคม ) 2565: 74-96.
  • Ping Mao และ ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์. การสร้างหนังสืออ่านเพิ่มเติมเรื่อง “สีในวัฒนธรรมไทย สาหรับชาวจีน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 12 (1) (มกราคม -มิถุนายน), 2565 : 28-43.
  • Panupong Udomsilp and Prit Supasetsiri. (2018). Social Organization: A Case Study of Chaopho Phrawo Worshipping Ritual in Nongbualumphu Province. MANUTSAT PARITAT, 2018(4) (July – December), pp. 7-24.
  • ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์. (2560). ประเพณีส่วงเฮือของชุมชนชายฝั่งแม่น้ำโขง: ความเป็นมาและการรื้อฟื้นหลังนโยบายเปลี่ยนสนามรบเป็นสนามการค้า. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11 (มกราคม – มิถุนายน), น. 1-30.
  • ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์. (2559). การผสมผสานความเชื่อเรื่องผี เทวดา และพุทธศาสนาในพิธีจุลกฐินของชาวไทยวน ชุมชนวัดบ้านทัพ ตำบลท่าผา อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารไทยศึกษา, 12 (มกราคม – มิถุนายน ), น. 35-55.
  • ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์. (2559). ทัศนะของชาวไทยพวนในวรรณกรรมนิทาน: มุมมองที่มีต่อกลุ่มของตนเองและกลุ่มชาติพันธ์ุอื่น. วารสารปาริชาติ, 29 (เมษายน – กันยายน), น. 111-126.
  • ภาณุพงศ์ อุดมศิลป์. (2557). ประเพณีส่วงเฮือชายฝั่งลุ่มน้ำโขง: บทบาทดั้งเดิมและการปรับเปลี่ยน ตามนโยบายของรัฐชาติ. วารสารมนุษยศาสตร์, 21 (กรกฎาคม – ธันวาคม), น. 77-94.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล
ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
http://tol.hu.swu.ac.th/Default.aspx?tabid=5084
ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
https://www.arts.chula.ac.th/folklore/