อรรถพล รอดแก้ว

อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม มีความเชี่ยวชาญด้านพหุวัฒนธรรม, สังคมศาสตร์การแพทย์, วัฒนธรรมศาสตร์/เพลงพื้นบ้านและศิลปะพื้นบ้าน, การจัดการสุขภาวะชุมชนและผู้สูงอายุ

202 views


ประวัติการศึกษา
  • 2562 : ปร.ด. (วัฒนธรรมศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 2551 : ศศ.ม. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข) มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2546 : พย.บ. (การพยาบาล) มหาวิทยาลัยนเรศวร
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
อีเมลAtthaphol_Rn@psru.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจมานุษยวิทยา, คติชนวิทยา, พหุวัฒนธรรม, สังคมศาสตร์การแพทย์, วัฒนธรรมศาสตร์, เพลงพื้นบ้านและศิลปะพื้นบ้าน, การจัดการสุขภาวะชุมชนและผู้สูงอายุ
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

บทความวิจัย/วิชาการที่ตีพิมพ์

  • สุวิมล ทาริวงศ์ อรรถพล รอดแก้ว ยุวดี ตรงต่อกิจ จิตศิริน ก้อนคง และ วชากร นพนรินทร์. (2564). การพัฒนารูปแบบการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุด้วยการรำวงย้อนยุค. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. 8(2): 49-67. (TCI 2)
  • อรรถพล รอดแก้ว บุษบา หินเธาว์ ธัญญาพร มาบวบ ศิริวรรณ แก้วสุขเรือง และณีรนุช ประเข. (2562). การวิเคราะห์การดำรงอยู่ของพิธีกรรมการเยื้องของชาวไทยทรงดำ บ้านบัวยาง อำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร. วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ. 32(1): 151-175.
  • รัตนวดี ทองบัวบาน รภัทร ชนกนําชัย อรทัย จันทร์แก้ว และอรรถพล รอดแก้ว. (2019). Ergonomic Assessment of Employees Performance in a Rubber Manufacturer. PSRU Journal of Science and Technology; 4(2): 23-33.
  • อรรถพล รอดแก้ว มนตรี ศรีราชเลา และพนัส โพธิบัติ. (2562). เสนฮับมดและตั้งบั้งหน่อ: พิธีกรรมสู่การเป็นทุนทางวัฒนธรรมของมดมนตร์ในกลุ่มชาติพันธ์ุไทดำ บ้านวังพิกุล จังหวัดพิษณุโลก. วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. 13(2):464-480.
  • Atthaphol Rodkaew, Montri Srirajlao, Phanat Phothibat. (2019). THE ADAPTATION OF 21ST CENTURY FOLK HEALERS OF TAI DAM ETHNIC GROUP IN NORTHERN THAILAND. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences, Pibulsongkram Rajabhat University. 20(2): 222-235.
  • อรษา ภูเจริญ อรรถพล รอดแก้ว จิตศิริน ก้อนคง และรัตนวดี ทองบัวบาน. (2561). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการหกล้มในผูู้สูงอายุ ตําบลหัวรอ อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก. วารสาร PSRU Journal of Science and Technology; 3(2): 46-54.
  • จิตศิริน ก้อนคง และอรรถพล รอดแก้ว. (2561). การใช้ลูกประคบสมุนไพรไทยสำหรับบรรเทาอาการเจ็บปวด ของโรคข้อเข่าเสื่อมระยะเริ่มต้นในผู้สูงอายุ. วารสาร Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social Sciences; 19(2): 205-214.
  • อรอนงค์ โสดา มนตรา ศรีษะแย้ม อรรถพล รอดแก้ว จิตศิริน ลายลักษณ์ และศศิภาวรรณ มาชะนา. (2560). การสำรวจสเตียรอยด์ในยาชุดและยาสมุนไพรในตำบลบ้านโสก อำเภอหล่มสัก จังหวัดเพชรบูรณ์. วารสารเภสัชกรรมไทย. 9(1): 216-224.
  • Chitsirin Lailak, Chutikan Sangkam, Paweena Pan-in, Surangkanang Kheawhom, Atthaphol Rodkaew and Suwimol Tongkamkeaw. (2017). Health behavioral modification program for overweight and obese school-age children. วารสาร Journal of Thai Interdisciplinary Research; 12(5):42 - 47.

บทความวิจัย/วิชาการที่นำเสนอในงานวิชาการ

  • เกสร สุขประเสริฐ ปาณิสา พรานบุญ และอรรถพล รอดแก้ว (2564). “กระบวนการเรียนรู้เข้าสู่อาชีพหมอนวดแผนไทย กรณีศึกษาลานสุขภาพริมแม่น้ำน่าน อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก”. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้ง ที่ 10 และนานาชาติ ครั้งที่ 3 วิทยาการจัดการวิชาการ 2021 “นวัตกรรมการวิจัยสู่การยกระดับเศรษฐกิจฐานราก” คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, น 1701-1709.
  • ญาณินี โทด้วง พีรญา การะสิทธิ์ และอรรถพล รอดแก้ว (2564). “แรงจูงใจในการเป็นจิตอาสา: กรณีศึกษาโครงการบิณฑบาตความทุกข์ เทศบาลตำบลพลายชุมพล อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก”. การประชุมวิชาการระดับชาติครั้ง ที่ 10 และนานาชาติ ครั้งที่ 3 วิทยาการจัดการวิชาการ 2021 “นวัตกรรมการวิจัยสู่การยกระดับเศรษฐกิจฐานราก” คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, น 1694-1700.
  • สุชานาถ หอมสุวรรณ์ พิชญ์จีรา กวินธนาภัทร์ และอรรถพล รอดแก้ว. (2562). ภูมิปัญญาพืชสมุนไพรของหมอพื้นบ้านกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำ อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings) พิบูลสงครามวิจัย ครั้งที่ 5 ประจำปี พ.ศ.2562 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก. น. 931-940.
  • Atthaphol Rodkaew, Wachakorn Nopnarin, Yuwadee Trongtokit and Chitsirin Konkong. (2019). The Development of Promoting Model for Quality of Life of Elderly with a Retro Dance. The 2nd Suan Sunandha National and International Academic Conference on Science and Technology; SsSci 2019. P 8-214-217.
  • อรรถพล รอดแก้ว กฤติยา รอดปฐม และศศิธร ดวลมีสุข. (2561). ภูมิปัญญาด้านสุขภาพในกลุ่มชาติพันธุ์ กรณีศึกษา: กลุ่มชาติพันธุ์ม้งบ้านเข็กน้อย อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้งที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏเลย จังหวัดเลย. น.129-136.
  • ณีรนุช ประเข ศิริวรรณ แก้วสุขเรือง และอรรถพล รอดแก้ว. (2559). ความเชื่อและพิธีกรรมการเยื้องของชาวไทยทรงดำ บ้านบัวยาง อำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ราชนครินทร์วิจัยและวิชาการ ครั้งที่ 8 ประจำปี พ.ศ. 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ จังหวัดฉะเชิงเทรา. น. 690-698.
  • ภรณ์ทิพย์ ศิริพันธุ์, สุรีพร มีสกุล, สุรีรัตน์ โพธิชัย, อรรถพล รอดแก้ว, นิธิพงศ์ ศรีเบญจมาศ และ ยุวดี ตรงต่อกิจ. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารไทยของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ "พิบูลสงครามวิจัย 2558" ประจำปี พ.ศ. 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม จังหวัดพิษณุโลก. น. 319-324.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

ระบบฐานข้อมูลผู้เชี่ยวชาญ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

https://expert.psru.ac.th/