บารนี บุญทรง

อาจารย์ประจำหลักสูตร ศศ.ม. (สาขาคติชนวิทยา) และหลักสูตร ปร.ด. (สาขาคติชนวิทยา) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

451 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • พ.ศ.2537 - ปัจจุบัน อาจารย์ประจำคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • พ.ศ.2546 - 2548 หัวหน้าสาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น คณะมนุษยศาสตร์
  • พ.ศ.2552 - 2554 หัวหน้าภาควิชาภาษาและคติชนวิทยา คณะมนุษยศาสตร์
  • กรกฎาคม พ.ศ.2555 - กรกฎาคม พ.ศ.2559 หัวหน้าภาควิชาคติชนวิทยา ปรัชญา และศาสนา คณะมนุษยศาสตร์
  • กรกฎาคม พ.ศ.2559 - กันยายน พ.ศ.2560 รองคณบดีฝ่ายบริหาร คณะมนุษยศาสตร์
  • กุมภาพันธ์ พ.ศ.2563 - 2565 ผู้ช่วยบรรณาธิการวารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ประวัติการศึกษา
  • พ.ศ.2552 ศศ.ด. (สาขาคติชนวิทยา) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • พ.ศ.2545 ศศ.ม. (สาขาญี่ปุ่นศึกษา) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • พ.ศ.2537 อ.บ. (สาขาภาษาญี่ปุ่น) คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาภาษาศาสตร์ คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อีเมลbaraneeb@hotmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจคติชนวิทยา
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • บารนี บุญทรง. (2565). การทดสอบของพระโพธิสัตว์ในฐานะอำมาตย์และปุโรหิต. วารสารมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 19(3), กันยายน – ธันวาคม 2565, 13-27.
  • บารนี บุญทรง. (2565). การศึกษาเปรียบเทียบความหมายเชิงสัญลักษณ์เรื่องนกจากชาดกกับเอกสารต่างประเทศ. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 13(1), มกราคม – มิถุนายน 2565, 99-111.
  • บารนี บุญทรง. (2565). พระโพธิสัตว์ในฐานะกษัตริย์: การทดสอบและวิธีจัดการ. วารสารมนุษยศาสตร์วิชาการ, 29(1), มกราคม – มิถุนายน 2565, 103-122.
  • บารนี บุญทรง. (2561). งูในฐานะสัญลักษณ์สื่อคุณลักษณะของพระศิวะ. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร,38(2), มีนาคม – เมษายน 2561, 1-20.
  • บารนี บุญทรง. (2561). นางทรงปู่และผู้เข้าร่วมพิธีกรรมการเลี้ยงปู่ในมิติแห่งปัจเจกบุคคล. วารสารคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 15(1), 69-82.
  • บารนี บุญทรง. (2561). งูในฐานสัญลักษณ์สื่อคุณลักษณะของพระศิวะ. วารสารศิลปากร 38(2), 1-20.
  • ณัฐภัทร์ สุรินทร์วงศ์ และบารนี บุญทรง. (2560). พิธีกรรมฟ้อนผีมด : การสื่อสารระหว่างมิติในมุมมองคติชนวิทยา. วารสารวิชาการนวัตกรรมสื่อสารสังคม 5(1) (มกราคม-เมษายน), 72-82.
  • บารนี บุญทรง. (2554). ความมั่นคงที่เริ่มสั่นคลอน? : ค่านิยมในอดีตและปัจจุบันของคนญี่ปุ่น. วารสารของสมาคมญี่ปุ่นศึกษาแห่งประเทศไทย 1(1), 57-77.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

ฐานข้อมูลบุคลากร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

https://mis.human.nu.ac.th/