ผลงานวิชาการที่สำคัญ | หนังสือ/ตํารา
- ดุษฎี อายุวัฒน์ วณิชชา ณรงค์ชัย อดิเรก เร่งมานะวงษ์ และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2563). ครัวเรือนแรงงานอีสานย้ายถิ่น: การดำรงชีพและความสุข. ขอนแก่น: โปรก๊อปปี้.
- ดุษฎี อายุวัฒน์. (2562). คนอีสานย้ายถิ่น: สถานการณ์และผลกระทบ. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
- ดุษฎี อายุวัฒน์. (2562). ศาสตร์และวิธีวิทยาการศึกษาการย้ายถิ่นของประชากร. ขอนแก่น: คลังนานาวิทยา.
- ดุษฎี อายุวัฒน์และคณะ. (2562). ชุดความรู้ "จาก R2H สู่ H2R เพื่อออกแบบความสุขของมหาวิทยาลัยขอนแก่น”. กรุงเทพฯ: พรีปริ้นท์.
- ดุษฎี อายุวัฒน์. (2532). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประชากร. ขอนแก่น : ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ผลงานวิจัย - ดุษฎี อายุวัฒน์ ปณัทพร เรืองเชิงชุม อภิรดี วงศ์ศิริ และสุวิมล คำน้อย. (2567). การสะสมทุนมนุษย์และทุนสังคมของแรงงานย้ายถิ่นกลับจากต่างประเทศ. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (โดยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ).
- ดุษฎี อายุวัฒน์และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2563). การพัฒนาโปรแกรมวัดความสุขของผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ประเทศไทย. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (โดยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น). พฤศจิกายน.
- ดุษฎี อายุวัฒน์ อรทัย เพียยุระ และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2563). บทบาทของเครือข่ายและการสร้างความเป็นไทยในต่างประเทศ. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (โดยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจากคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น). มิถุนายน.
- วณิชชา ณรงค์ชัย ดุษฎี อายุวัฒน์ จงรักษ์ หงษ์งาม สุภีร์ สมอนา เกรียงไกร ผาสุตะ สมโภชน์ ถิ่นปรุ กรองแก้ว กิ่งสวัสดิ์ ขวัญนคร สอนหมั่น และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2563). CIPP Model กับงานสร้างสุขในมหาวิทยาลัยขอนแก่น. ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (โดยได้รับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น). เมษายน.
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (2553). ผลของระบบการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาการประเมินผลการปฏิบัติงาน. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ภายใต้ชุดโครงการวิจัย ผลของระบบบริหารจัดการเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สนับสนุนทุนวิจัยโดย ฝายทรัพยากรบุคคล มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (2553). สหกิจศึกษาของเครือข่ายอุดมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน. ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (สนับสนุนทุนวิจัยโดย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกว.) และ มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (2553). คู่มือการใช้ชีวิตของแรงงานไทยในต่างประเทศ (กรณีประเทศเกาหลีใต้). ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ด้วยความร่วมมือระหว่าง กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (2553). สรุปผลการดําเนินงานโครงการ FMIP 2552 : โครงการนําร่องเพื่อพัฒนาศักยภาพ แรงงานแบบบูรณาการก่อนการการย้ายถิ่นไปทำงานต่างประเทศ. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ด้วยความร่วมมือระหว่าง กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (2553). หลักสูตรการฝึกอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพแรงงานแบบบูรณาการก่อนการย้าย
- ถิ่น ไปทำงานต่างประเทศ. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ด้วยความร่วมมือระหว่าง กรมการกงสุล กระทรวงการต่างประเทศ และคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และวณิชชา ณรงค์ชัย. (2553). รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการประเมินผลการบังคับใช้กฎหมาย ตามพระราชบัญญัติควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ พ.ศ. 2551 ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (จังหวัด อุดรธานีและจังหวัดขอนแก่น). ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับสนับสนุนการวิจัยจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข และศูนย์วิจัยปญหาสุรา)
- ดุษฎี อายุวัฒน์, อดิเรก เร่งมานะ และสังคม ศุภรัตนกุล. (2552). ภาวะสุขภาพและการรับบริการสุขภาพของแรงงาน ข้ามชาติในภาคการผลิตเกษตรกรรม กรณีศึกษาตำบลแห่งหนึ่งในภาคอีสาน.ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับสนับสนุนการวิจัยโดยทุนอุดหนุนจากสถาบันวิจัยระบบ สาธารณสุข (สวรส.))
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และภารดร ดังยางหวาย. (2552). ผลกระทบของการผลิตในชุมชนที9มีต่อภาวะสุขภาพของแรงงานและ ครัวเรือนอีสาน. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับงบประมาณ สนับสนุนจากทุนอุดหนุนทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น)
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และสร้อยบุญ ทรายทอง. (2551). การพัฒนาความมั่นคงในชีวิตวัยรุ่นในชนบทอีสาน. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับงบประมาณสนับสนุนจากทุนอุดหนุนทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีงบประมาณ 2547-49)
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และภัทระ แสนไชยสุริยา. (2550). การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่มีต่อภาวะสุขภาพ : กรณีศึกษาแรงงานย้ายถิ่น. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับการสนับสนุนการวิจัย จากกองทุนสนับสนุนการวิจัย สกว.)
- ดุษฎี อายุวัฒน์. (2550). กระบวนการวางแผนพัฒนาชุมชนแบบมีส่วนร่วม. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การนานาชาติแพลนเพื่อ ร่วมกันพัฒนาประเทศไทย)
- ดุษฎี อายุวัฒน์. (2550). ความเข้มแข็งของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปญหาเอดส์.ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากองค์การนานาชาติแพลนเพื่อ ร่วมกันพัฒนาประเทศไทย สำนักงานพื้นที่หนองบัวลำภู)
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และคณะ. (2548). บทบาทหน้าที่ และรูปแบบ การดําเนินงานขององค์การบริหารส่วนตำบล ด้าน
- อาชีวอนามัยและความปลอดภัยของแรงงานนอกระบบ. โครงการความร่วมมือระหว่างสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และ สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย. ขอนแก่น : คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
- ดุษฎี อายุวัฒน์, ธนพรรณ ธานี และรจนา แก่นอำพรพันธ์. (2548). ความต้องการความสามารถและทักษะภาษาต่างประเทศของแหล่งงานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนสนับสนุนการวิจัย สกว.)
- ดุษฎี อายุวัฒน์. (2545). ผลของการแก้ไขปญหาเร่งด่วนกลุ่มผู้ยากลําบาก กรณีศึกษาเครือข่ายผู้ติดเชื้อเอดส์ จังหวัดขอนแก่น. ขอนแก่น : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (ได้รับการ สนับสนุน งบประมาณจากสำนักงานกองทุนเพื่อสังคม SIF MENU 5)
- ดุษฎี อายุวัฒน์ และอารีย์ นัยพินิจ. (2545). ศักยภาพในการระดมเงินทุนของชุมชนผ่าน สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยนใน 4 จังหวัดหลักของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ขอนแก่น : คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากคณะวิทยาการจัดการ)
บทความวิชาการ - ดุษฎี อายุวัฒน์ อภิรดี วงศ์ศิริ ปณัทพร เรืองเชิงชุม สุวิมล คำน้อย และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2566). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการสะสมทักษะชีวิตในสังคมสมัยใหม่ของแรงงานย้ายถิ่นกลับจากต่างประเทศ. วารสารประชากรศาสตร์, 39(2), 24-37. TCI ฐาน 1.
- ดุษฎี อายุวัฒน์ อภิรดี วงศ์ศิริ ปณัทพร เรืองเชิงชุม สุวิมล คำน้อย และณัฐวรรธ อุไรอำไพ. (2566). การสะสมทุนสังคมในถิ่นปลายทางของแรงงานอีสานยGายถิ่นกลับ. วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม, 12(2), 114-139. TCI ฐาน 2.
- กิตติพิชญ์ พรหมโคตร และดุษฎี อายุวัฒน์. (2566). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับชั่วโมงการทำงานของแรงงานหญิงอีสานย้ายถิ่นในถิ่นปลายทาง. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 40(3), 80-108. TCI ฐาน 2.
- มนตรี ภูศรีโสม และดุษฎี อายุวัฒนB. (2564). ปyจจัยกำหนดแบบแผนการทำงานภาคอุตสาหกรรมของผู้เดินทางไปกลับในเมืองหลักขอนแก่น. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, 38(3), 65-85. TCI ฐาน 1.
|
---|