วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์

อาจารย์ประจำภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

1840 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประวัติการทำงาน

  • 2562 - ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเทศไทย
  • 2550 – 2551 คณะวิจัย โครงการสืบค้นและจัดการมรดกทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในอำเภอ ปาย – ปางมะผ้า – ขุนยวม จังหวัดแม่ฮ่องสอน สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • 2549 คณะกรรมการจัดทำมาตรฐานการส่งเสริมศาสนา วัฒนธรรม และจารีตประเพณีท้องถิ่น
  • 2547 – 2562 อาจารย์ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ประเทศไทย
ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี (ศิลปศาสตรบัณฑิต มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยศิลปากร

ปริญญาโท (ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต พัฒนาชนบทศึกษา) มหาวิทยาลัยมหิดล


ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
อีเมลmontrivade@yahoo.com, montrivade_v@su.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจมานุษยวิทยานิเวศ, มานุษยวิทยาการแพทย์, มานุษยวิทยาประยุกต์, นิเวศวิทยาการเมือง, สังคมชนบทและเมือง
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

งานวิจัย

  • การเมืองเรื่องน้ำ: กรณีศึกษาชุมชนเกษตรกรรมแห่งหนึ่งในจังหวัดสุพรรณบุรี (WATER POLITICS: A STUDY OF AGRICULTURAL COMMUNITY IN SUPHANBURI PROVINCE), กองทุนวิจัยสร้างสรรค์ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร , หัวหน้าโครงการวิจัย, 2560.
  • สวนชานเมืองสู่สวนกลางเมือง: การดำรงอยู่ของการทำสวนในพื้นที่ธนบุรี (Suburban Gardens to Urban Gardens: Existence of Gardening in the Thon Buri Area), ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), หัวหน้าโครงการวิจัย, 2561.
  • ชุดโครงการ โรคระบาดไร้พรมแดน: ภูมิทัศน์ความเปลี่ยนแปลงสังคมไทยร่วมสมัยโครงการย่อยที่ 1 การเป็นคนอื่นในภาวะโรคระบาดโควิด-19: ประสบการณ์ของแรงงานในเมืองระดับโลกในอาเซียน, สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), ผู้ร่วมวิจัยโครงการย่อยที่ 5: ศิลปินเชิงพาณิชย์ในภาวะโควิด – 19: ความท้าทาย การปรับตัวและการให้ความหมายกับชีวิตการทำงานในวิกฤตโรคระบาด กรณีศึกษา ศิลปินเชิงพาณิชย์ในอุตสาหกรรมภาพยนตร์ ย่านทาวน์อินทาวน์, สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ(วช.), หัวหน้าโครงการวิจัย, 2564-2565.
  • เย็บ ปัก และพิมพ์ลาย : ความท้าทายของชุมชนในการพัฒนาสินค้าวัฒนธรรมในสื่อสังคมออนไลน์ กรณีศึกษา สุขใจที่ป่าสัก ตำบลป่าสัก อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน,กองทุนวิจัยและสร้างสรรค์คณะโบราณคดี, หัวหน้าโครงการวิจัย, 2565.
  • ความท้าทายในการสร้างสรรค์และพัฒนาสินค้าทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืน เพื่อตอบสนองความต้องการซื้อของผู้บริโภคในตลาดออฟไลน์และออนไลน์ กรณีศึกษาผ้าทอกะเหรี่ยงโปว์ด่านช้าง อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.), หัวหน้าโครงการวิจัย, 2566-2567.
  • กว่าจะได้เป็นเสียง: การสะสมทุนของนักออกแบบเสียง (Sound Designer) ใน อุตสาหกรรมสร้างสรรค์, สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.), หัวหน้าโครงการวิจัย, 2567-2568.


งานเขียนบทความในหนังสือและวารสาร

ภาษาไทย

  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2548). คุรุดวารา. ใน โครงการอบรมด้านศิลปวัฒนธรรมในเกาะรัตนโกสินทร์. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2549). เรือยาวคลองบางเชือกหนังการสัญจรทางน้ำของคนฝั่งธนบุรี. วารสารภาษาและวัฒนธรรม, 25(2), 66-81
  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2556). แรงงานต่างด้าวในภาคประมงกับความรุนแรงเชิงวัฒนธรรม. ใน ดำรงวิชาการ : รวมบทความทางวิชาการคณะโบราณคดี ปีที่ 12 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม). กรุงเทพฯ: คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2557). แรงงานนอกระบบกับการไม่สามารถหลุดพ้นจากความเจ็บป่วย. ใน สาส์นมานุษยวิทยา : 40 ปี : มานุษยวิทยาวังท่าพระ. กรุงเทพฯ: ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร วังท่าพระ.
  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2561). ฉันเรียนรู้อะไรจากการเดินทางไป "ด่านสิงขร". ใน มรกต ไมยเออร์, ภัทราภรณ์ ภูบาล และสิทธิพร เนตรนิยม (บรรณาธิการ), สีสันพหุวัฒนธรรมบนรอยทาง อาเซียน - สหภาพยุโรป – เอเชีย. นครปฐม: โครงการศูนย์พหุวัฒนธรรมอาเซียน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2561). ดอกโสนริมคลอง. ใน มรกต ไมยเออร์, ภัทราภรณ์ ภูบาล และสิทธิพร เนตรนิยม (บรรณาธิการ), สีสันพหุวัฒนธรรมบนรอยทาง อาเซียน - สหภาพยุโรป – เอเชีย. นครปฐม: โครงการศูนย์พหุวัฒนธรรมอาเซียน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล.
  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2561). ฉันเรียนรู้อะไรจากการเดินทางไป ‘ด่านสิงขร’. ใน สีสันพหุวัฒนธรรมบนรอยทางอาเซียน สหภาพยุโรป เอเชีย. นครปฐม: โครงการศูนย์พหุวัฒนธรรมอาเซียน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชียมหาวิทยาลัยมหิดล, 85 – 91.
  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2561). ภาพอดีตของบ้านสวนริมคลองบางเชือกหนัง ตลิ่งชัน. ใน เอกสารประกอบการสัมมนา “ธนบุรีในวัฏจักรการเปลี่ยนแปลง: มองผ่านชีวิตคนและชุมชน.” กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 63 –81.
  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์. (2562). “การดิ้นรนของสวนเกษตรในเมือง กรณีศึกษาชาวสวนฝั่งธนบุรี” วารสารมานุษยวิทยา, 2(1), 171 – 226.
  • วราภรณ์ มนต์ไตรเวศย์ และนัฐวุฒิ สิงห์กุล. (2564). “ทำความเข้าใจกะเหรี่ยงโปว์ด่านช้างผ่านการท่องเที่ยววัฒนธรรมและชาติพันธุ์” ดำรงวิชาการ, ปีที่ 20, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม): 209 – 230. วารสารระดับชาติ TCI 1

ภาษาอังกฤษ

  • Booton, R. D., Meeyai, A., Alhusein, N., Buller, H., Feil, E., Lambert, H., Mongkolsuk, S., Pitchforth, E., Reyher, K. K., Sakcamduang, W., Satayavivad, J., Singer, A. C., Sringernyuang, L., Thamlikitkul, V., Vass, L., OH-DART Study Group, Avison, M. B., & Turner, K. M. E. (2021). One Health drivers of antibacterial resistance: Quantifying the relative impacts of human, animal and environmental use and transmission. One health (Amsterdam, Netherlands), 12, 100220. https://doi.org/10.1016/j.onehlt.2021.100220
  • Nour Alhusein, Nutcha Charoenboon, Kantima Wichuwaranan, Kornrawan Poonsawad, Varapon Montrivade, Matthew B. Avison, Luechai Sringernyuang, and Helen Lambert. “The Unseen Use of Antimicrobials: Drivers of Human Antibiotic Use in a Community in Thailand and Implications for Surveillance.” Global Public Health 19, no. 1 (2024). https://doi.org/10.1080/17441692.2023.2298940
  • Nour Alhusein, Boonrat Chantong, Sarin Suwanpakdee, Anuwat Wiratsudakul, Virginia C. Gould, Kantima Wichuwaranan, Kornrawan Poonsawad, Varapon Montrivade, Nutcha Charoenboon, Luechai Sringernyuang, Matthew B. Avison, Helen Lambert, Walasinee Sakcamduang, Henry Buller, Kristen K. Reyherg. “Influences on limited antimicrobial use in small-scale freshwater aquaculture farms in central Thailand.” medRxiv 2024.02.11.24302655; doi: https://doi.org/10.1101/2024.02.11.24302655
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)