ผลงานวิชาการที่สำคัญ | เอกสารวิชาการ- แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยา, 2557
- เอกสารประกอบการสอนวิชาแนวคิดทฤษฎีทางสังคมวิทยา (ฉบับปรับปรุง 2556)
- ปุรินทร์ นาคสิงห์ และธาตรี ใต้ฟ้าพูล. "การประกอบสร้างตัวตนเกย์ในภาพยนตร์ไทย" วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 39(2): 35-53.
- ปุรินทร์ นาคสิงห์. 2559. “วัฒนธรรมกับสังคม” ใน อัมพร สุคันธวาณิช และพวงเพชร สุรัตนกวีกุล (บรรณาธิการ). มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
- ปุรินทร์ นาคสิงห์. 2559. “พฤติกรรมเบี่ยงเบนและปัญหาสังคม” ใน อัมพร สุคันธวาณิช และพวงเพชร สุรัตนกวีกุล (บรรณาธิการ). มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 13. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
- ปุรินทร์ นาคสิงห์. 2560. “บลูดี: อำนาจพลางกับการผลิตซ้ำร่างเกย์” ใน นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ (บรรณาธิการ). เมื่อร่างกายกลายเป็นเพศ อำนาจเสรีนิยมใหม่ของเพศวิถีในสังคมไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
- วรชัย วิริยารมภ์, ปุรินทร์ นาคสิงห์ และ ฉัตรวรรณ พลเพชร. 2558. การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมกลุ่มชาติพันธุ์ซาไก: กรณีศึกษา ซาไกกลุ่มตะโหมด จังหวัดพัทลุง, วารสารปาริชาต, 27 (2): 82-103.
- ปุรินทร์ นาคสิงห์. 2558. เพศวิถีของ “ชายขอบ” ในห้องน้ำสาธารณะ, วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 34(1): 9-29.
- ว่าที่ร้อยตรี อนุสรณ์ ขวัญกิจอุดมกุล และ ปุรินทร์ นาคสิงห์. 2559. กระบวนการเข้าสู่อาชีพของสาวนั่งดริ๊งค์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ CSD สัมพันธ์ ครั้งที่ 15 “การพัฒนาชุมชน สังคม ท้องถิ่น ภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลง” วันที่ 30-31 มกราคม 2559. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม หน้า 165-176.
- ฟาดีละฮ์ มะกูวิง และปุรินทร์ นาคสิงห์. 2559. การธำรงอัตลักษณ์ของผู้ต้องขังหญิงมุสลิม.เอกสารสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติ การประชุมวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 10 ประจำปี พ.ศ. 2559 “เอกภาพและความหลากหลายในมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วันศุกร์ที่ 10 มิถุนายน 2559 หน้า 872-883.
- ปุรินทร์ นาคสิงห์, กังสดาล เชาว์วัฒนกุล, ชลิตา บัณฑุวงศ์ และอังกูร หงษ์คณานุเคราะห์. 2560. ชนบทที่เปลี่ยนผ่านและการปรับตัวในการดำรงชีพของเกษตรกร: กรณีศึกษา “ชุมชนเกษตรกรรม” ที่ จ.นครปฐม. วารสารวิจัยสังคม. 40(2): 69-98.
- สุภัสสร สุนทรวิภาต และปุรินทร์ นาคสิงห์. 2560. พื้นที่เชิงอำนาจและการแสดงตัวตนของผู้ใช้พื้นที่ “วัดพระศรีมหาอุมาเทวี”. วารสารชุมชนสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, 2(1): 48-69.
- ปุรินทร์ นาคสิงห์ และอังกูร หงษ์คณานุเคราะห์. 2561. การทำให้สงกรานต์กรุงเทพฯ เป็นสินค้าวัฒนธรรมในอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว. วารสารมานุษยวิทยา, 1(1): 159-189.
- Bundhuwong, C., Naksing, P. Chawathanakun, K., and Hongkananukraw, A. 2017. Rural Transformation and Livelihood Adaptations: A Case Study of Villagers in an “Agricultural Community” in Nakhonprathom, Thailand. In 13th International Conference on Thai Studies Globalized Thailand? Connectivity, Conflicts and Conundrums of Thai Studies, 15-18 July 2017, Chiang Mai, Thailand, pp. 96.
งานวิจัย- การศึกษาสถานภาพทางวิชาการของภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2557
- โครงการวิจัยสถาบันเพื่อการพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยาประยุกต์, 2557
- ชนบทที่เปลี่ยนผ่านและการปรับตัวในการดำรงชีพของเกษตรกร: กรณีศึกษาเกษตรกร อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม, 2558
- สงกรานต์ การดำรงอยู่ และการเปลี่ยนแปลงในบริบทการท่องเที่ยว, 2560
|