ปรีชา อุปโยคิน

อดีตอาจารย์ประจำคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และเคยดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการ ศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รวมถึงเป็นที่ปรึกษาพิเศษองค์กรระหว่างประเทศ อาทิ Sociological Aspects of the Australian Assistance Bureau, Kawe Noi, Phitsanulok Multipurpose Dam Feasibility Project, Soil and Water Conservation Project, USAID.

1275 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

กระทรวงมหาดไทย

1.ข้าราชการชั้นตรี กองพัฒนาและสงเคราะห์ชาวเขา กรมประชาสงเคราะห์ กระทรวงมหาดไทย

พ.ศ. 2512-2513

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

2.นักวิจัยประจำสถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2514-2520

มหาวิทยาลัยมหิดล

3.อาจารย์คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2520-2543

มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

4.อาจารย์สำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2543-2546

5.ผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการ พ.ศ. 2546-2553

6.อาจารย์อาวุโส มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2553-2562

7.ข้าราชการบำนาญ สังกัดมหาวิทยาลัยมหิดล

ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์ (ตั้งแต่ ปี 2528)

ตำแหน่งบริหารทางด้านวิชาการ

1.ประธานหลักสูตรสังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยมหิดล

2.ประธานหลักสูตรสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยมหิดล

3.Director, International Health Social Science Programme มหาวิทยาลัยมหิดล

4.รองคณบดีคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล

5.รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยฝ่ายนโยบายและแผนมหาวิทยาลัยมหิดล

6.รักษาการคณบดีสำนักวิชาศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2543-2546

7.ผู้กำกับศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร พ.ศ. 2543-2546

8.ผู้อำนวยการศูนย์บริการวิชาการ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2546-2553

9.ประธานหลักสูตรสังคมศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต พ.ศ. 2555- 2561

10.ประธานกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 2559-2562

11.บรรณาธิการ วารสาร CONNEXION มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง พ.ศ. 2558-2562

12.คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ 2562- ปัจจุบัน

13.กองบรรณาธิการวารสาร CONNEXION 2562- ปัจจุบัน

ที่ปรึกษา/กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาการ

ที่ปรึกษาองค์การระหว่างประเทศ

1.Social Scientist Consultant of DLD (Department of Land Development), 1982

2.Sociologist Consultant for Soil and Water Conservation Project, USAID, 1983

3.Special Advisor of Sociological Aspects of the Australian Assistance Bureau, Kawe Noi, Phitsanulok Multipurpose Dam Feasibility Project, 1984

4.WHO/ARI Short - term Consultant for the government of Sudan and Iran, 1991

ประวัติการศึกษา

พ.ศ. 2512 - สม. บ. (สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

พ.ศ. 2518 - สค.ม. (สังคมวิทยา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

พ.ศ. 2533 - Ph. D. Anthropology (Medical Anthropology) Case Western Reserve University, U.S.A.

ทุนการศึกษา

1.ระดับ ปริญญาตรี SEATO Scholarship 1969

2.ระดับ ปริญญาโท Chulalongkorn University Social Science Research Institute 1971-1972

3.ระดับ ปริญญาเอก WHO/UNDP/World Bank/TRD 1986-1990

ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
อีเมลp_upayokin@hotmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจมานุษยวิทยาการแพทย์, วัฒนธรรมศึกษา, Ethnicity, political anthropology, Gerontology (Aging), Ethnopharmacology
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

ตำรา

1. ปรีชา อุปโยคิน. (2528). ระบบความเชื่อเกี่ยวกับสุขภาพและความเจ็บป่วย (หน่วยที่ 7).

ใน เอกสารการสอนชุดวิชาสังคมวิทยาการแพทย์ = Medical sociology. นนทบุรี:

มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

2. ปรีชา อุปโยคิน. (2534). พฤติกรรมแสวงหาด้านสุขภาพ. ใน มัลลิกา มัติโก.

คู่มือวิจัยพฤติกรรมสุขภาพ: ชุดที่ 1 แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวกับพฤติกรรมสุขภาพ

(หน้า 47-68). นครปฐม: โครงการข่ายงานวิจัยพฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์

และสาธารณสุข.

3. อดุลย์ วิริยเวชกุล, ปรีชา อุปโยคิน และประสิทธิ ลีระพันธ์. (2541). คู่มือวิทยานิพนธ์.

กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

4. ปรีชา อุปโยคิน. (2541). สังคมวิทยาและสิ่งแวดล้อม. ใน เต็มดวง รัตนทัศนีย์ และคณะ.

(2541). มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (หน้า 149-167). กรุงเทพฯ: ธนาเพรส แอนด์ กราฟฟิค.

5. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2547). การประยุกต์ความรู้ทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยากับ

การแพทย์พื้นบ้านไทย. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาการการแพทย์

หน่วยที่ 12. นนทบุรี: โรงพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

6. ปรีชา อุปโยคิน. (2555). การประยุกต์ความรู้ทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยากับการแพทย์พื้นบ้านไทย (หน่วยที่ 12). ใน สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาการแพทย์. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

7. มัลลิกา มัติโก, ปรีชา อุปโยคิน, พรทิพย์ อาณาประโยชน์, และ กรรณิการ์ ชลลัมพี. (2540).

อนามัยเจริญพันธ์และการวางแผนครอบครัว. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

8. ปรีชา อุปโยคิน. (2539) . สังคมวิทยาและสิ่งแวดล้อม.ในเต็มดวง รัตนทัศนีย์ และคณะ

มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม (หน้า 149-167). นครปฐม : มหาวิทยาลัยมหิดล.

9. Suphot Dendoung, Preecha Upayokin & Mullika Muttiko. (1993). Focused ethnographic studies. In Bencha Yoddumnern-Attig et.al, (ed). Qualitative methods for population and health research (pp. 194-202). Bangkok: Library of Congress Cataloguing in Publication Data.

หนังสือ/ Proceeding

10. Amara Pongsapich & Preecha Upayakin. (1975). Rural employment promotion programmes in Thailand: A report submitted to the ILO, Marga Institute. Bangkok: Social Science Research Institute, Chulalongkorn University.

11. Preecha Upayokin. (1997). Later life of the rural Thai elderly. In 1997World Congress of Gerontology 16th Congress of the International Association of Gerontology Aging Beyond 2000: One world one future. Singapore: The International Association of Gerontology.

12. Preecha Upayokin. (1998). Culture and sexual behavior in the context of cross-cultural studies. In Chanuantong Tanasugarn (ed). The proceeding of consultative meeting on cross-cultural studies in connection with healthy behavior in risky situations (CCS), 77-83.

13. Preecha Upayokin. (2001). Health and education needs of ethnic minorities in the Greater Mekong Sub-region. Manila: Asian Development Bank.

14. ลือชัย ศรีเงินยวง และปรีชา อุปโยคิน. (2533). พหุลักษณ์ ของระบบการแพทย์ในภาคกลางและ การเปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.

15. ปรีชา อุปโยคิน. (2535). มิติทางสังคมและวัฒนธรรมกับปัญหาสุขภาพจิต. ใน เอกสารประกอบการประชุม กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. กรุงเทพฯ : กระทรวงสาธารณสุข

16. ปรีชา อุปโยคิน. (2537). พฤติกรรมการแสวงหาการรักษา: วิเคราะห์ระหว่างโรค เรื้อรังและเฉียบพลัน. ใน รายงานการประชุมวิชาการพฤติกรรมสุขภาพ ครั้งที่ 4 (หน้า 111-120). สงขลา: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

17. ปรีชา อุปโยคิน. (2538). การแพทย์ วัฒนธรรม และจริยธรรม. ใน นโยบายสุขภาพและ การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขไทยในทศวรรษหน้า การประชุมวิชาการเฉลิม พระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เนื่องในวโรกาสที่ทรงเจริญพระชนมายุครบ 6 รอบ นักษัตร (หน้า 146-161). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

18. ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, ปรีชา อุปโยคิน และ สุรีย์ กาญจนวงศ์. (2539). มิติทางสังคมและวัฒนธรรมของผู้สูงอายุ. ใน การประชุมวิชาการ ครบรอบ 20 ปี สังคมศาสตร์การแพทย์ และสาธารณสุข เรื่อง สังคมศาสตร์สุขภาพผู้สูงอายุไทยในทศวรรษ (หน้า21-26). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

19. สุรีย์ กาญจนวงศ์, ปรีชา อุปโยคิน, วีณา ศิริสุข และ มัลลิกา มัติโก. (2539). ภาวะสุขภาพอนามัยและการดูแลสุขภาพตนเองของผู้สูงอายุ. ใน การประชุมวิชาการ ครบรอบ 20 ปี สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข เรื่อง สังคมศาสตร์สุขภาพผู้สูงอายุไทยในทศวรรษหน้า(หน้า 125-142). นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

20. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2541). ไม้ใกล้ฝั่ง: สถานภาพและบทบาทผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: เจริญดีการพิมพ์.

21. ปรีชา อุปโยคิน. (2541). สะท้อนแนวคิดการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

22. ปรีชา อุปโยคิน. (2553). เพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ. ใน นภัส แก้ววิเชียร และ เบญจพร สุธรรมชัย (บรรณาธิการ). การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ. นนทบุรี: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.

23. ปรีชา อุปโยคิน. (2553). ความสุขของผู้สูงอายุ. ใน นภัส แก้ววิเชียร และ เบญจพร สุธรรมชัย (บรรณาธิการ). การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ. นนทบุรี: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ.

งานแปล

24. แบนเนอร์แมน, เอช. โรเบิร์ต และคณะ. (2540). การแพทย์พื้นบ้านกับการดูแลสุขภาพ (แปลจาก Traditional Medicine and Health Care Coverage บรรณาธิการแปลโดย ปรีชา อุปโยคิน และ เสาวภา พรสิริพงษ์). กรุงเทพฯ: สถาบันการแพทย์แผนไทย กระทรวงสาธารณสุข องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

ผลงานวิจัย

25. Amara Pongsapich, & Preecha Upayokin. (1975). Rural employment promotion programmes in Thailand: A report submitted to the ILO, Marga Institute. Bangkok: Social Science Research Institute, Chulalongkorn University.

26. Preecha Upayokin. (1978). Rural youth evaluation programme: A study of rural youth programmes in Thailand (FAO). Bangkok: Social Science Research Institute, Chulalongkorn University.

27. Chulalongkorn University. (1978). Works of young farmer groups in Thailand. Bangkok: Chulalongkorn University

28. Asian Institute of Technology. (1979). Water for northeast: A strategy for the development of small-scale water resources (ait/nesdb). Bangkok: Asian Institute of Technology.

29. Preecha Upayokin. (1979). An evaluative research on the village health volunteer programme of Khon Kaen University (IDRC). Khon Kaen: Khon Kaen University.

30. Preecha Upayokin. (1980). Socioeconomic and demographic characteristics, and attitudes towards education among hill tribe people in Thailand. Virginia: National Science Foundation.

31. Oratia Rauyajin, Pimpawan Predasawat, Suphot Dendoung, & Preecha Upayokin. (1980). Psychosocial aspects of rural health services in the northeast region of Thailand: Research report no. 1 (the anthropological study of psychosocial aspects of health workers). Nakorn Phathom: Mahidol University.

32. Oratia Rauyajin, Pimpawan Predasawat, Suphot Dendoung, & Preecha Upayokin. (1980). Psychosocial aspects of rural health services in the northeast region of Thailand: Research report no. 2 (the field survey and observation study of health services utilization). Nakorn Phathom: Mahidol University.

33. Eddie L. Wood, Lauren H. Long, Thomas H. Damster, Preecha Upayokin, & Kanikar A. Sookasame. (1982). Soil and water conservation program for northeast Thailand project objectives designs and strategies. Bangkok: United States Agency for International Development (USAID).

34. Preecha Upayokin, Kanikar A. Sookasame, & Sinth Sarobol. (1983). Knowledge, perception and attitude towards soil and water conservation: A case study in northeastern Thailand. Nakorn Phathom: Mahidol University.

35. Preecha Upayokin, Suphot Dendoung, Mulika Muttiko, & Pimonpun Ukoskit. (1991). A focused ethnographic study of acute respiratory infection in northern Thailand. Nakorn Phathom: Mahidol University Press.

36. Preecha Upayokin. (2000). Health and education needs of ethnic minorities in the Greater Mekong Sub-region. Bangkok: Asian Development Bank.

37. Preecha Upayokin & Mulika Muttiko. (2002). Holistic health care strategy: A model for health care reform. Chiangrai: Mae Fah Luang University.

38. Preecha Upayokin et. al. (2014). Study on needs for skilled labor development in the Greater Mekong Sub-region. Bangkok: Department of Skill Development, Ministry of Labor.

39. ปรีชา อุปโยคิน และ ชาญคณิต ก. สุริยะมณี. (2527). ความรู้ความเข้าใจและทัศนคติของผู้บริหารระดับสูงต่อปัญหาและนโยบายสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย. กรุงเทพฯ:

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

40. ปรีชา อุปโยคิน, มัลลิกา มัติโก, วีณา ศิริสุข และ สุรีย์ กาญจนวงศ์. (2540). สถานภาพและบทบาทของผู้สูงอายุในประเทศไทย. นครปฐม: โครงการจัดตั้งภาควิชาสังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

41. ปรีชา อุปโยคิน, เสาวภา พรสิริพงษ์, พร้อมจิต ศรลัมพ์, พรทิพย์ อุศุภรัตน์ และวิชิต เปานิล. (2540). การประเมินผลการพัฒนาสมุนไพรและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติเพื่อเป็นยา. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.

42. สุรีย์ กาญจนวงศ์, ปรีชา อุปโยคิน, วีณา ศิริสุข และ มัลลิกา มัติโก. (2540). ภาวะสุขภาพอนามัยและการดูแลตนเองเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยของผู้สูงอายุ (พื้นที่ศึกษาในเขตภาคกลาง). กรุงเทพฯ: กองบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

43. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2541). ไม้ใกล้ฝั่ง: สถานภาพและบทบาทผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: กองบริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

44. ปรีชา อุปโยคิน และ สุรีย์ กาญจนวงศ์. (2542). พ่อค้าและนักธุรกิจกับระบบรัฐสภาไทย. กรุงเทพฯ: สภาผู้แทนราษฎร.

45. ปรีชา อุปโยคิน. (2542). สถานะสุขภาพชนกลุ่มน้อยในประเทศไทย . กรุงเทพฯ: คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

46. ปรีชา อุปโยคิน .( 2543). การรับรู้ของแพทย์ต่อเวชปฏิบัติครอบครัวในประเทศไทย.กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข.

47. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2543). โครงการร่วมมือเพื่อพัฒนารูปแบบการผลิตยาสมุนไพรโดยชุมชน. กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัย.

48. ปรีชา อุปโยคิน. (2544). การติดตามและประเมินผลการดำเนินงานสถาบันอุดมศึกษา.กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัย.

49. ปรีชา อุปโยคิน. (2544). เหลียวหลังแลหน้าการอุดมศึกษาไทย. กรุงเทพฯ: ทบวงมหาวิทยาลัย.

50. ปรีชา อุปโยคิน, เสาวภา พรสิริพงษ์, และวิชิต เปานิล. (2544). โครงการร่วมมือเพื่อพัฒนารูปแบบการผลิตยาสมุนไพรโดยชุมชน. วารสารการแพทย์แผนไทย, 5(5), หน้า 62-72.

51. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2546). สถานการณ์ปัจจุบันและทิศทางการจัดโปรแกรมพละศึกษาในสถาบันการศึกษา จังหวัดเชียงราย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

52. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2546). สถานการณ์และเงื่อนไขการกระจายอำนาจด้านสุขภาพในท้องถิ่น: กรณีศึกษาจังหวัดเชียงใหม่. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

53. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2547). การรับรู้และการเข้าถึงสื่อสาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

54. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2547). กลไกการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อการดำเนินการจัดตั้งเขตเศรษฐกิจชายแดน จังหวัดเชียงราย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

55. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2547). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจในการสืบสวนสอบสวนเพื่อป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

56. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2547). ความพึงพอใจของเจ้าหน้าที่ตำรวจต่อการบริหารเงินอุดหนุนในการสืบสวนสอบสวนเพื่อป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม. เชียงราย: มหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวง.

57. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2548). ความต้องการด้านการฝึกอบรมในเขตเศรษฐกิจชายแดนจังหวัดเชียงราย และอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง. เชียงราย: โรงพิมพ์ เชียงรายรุ่งโรจน์.

58. ปรีชา อุปโยคิน และ มาลี ภูมิภาค. (2548). การศึกษาการพัฒนาชุมชนรอบมหาวิทยาลัย แม่ฟ้าหลวงอย่างยั่งยืน. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

59. ปรีชา อุปโยคิน, อภิสม อินทรลาวัณย์, ทรงสรรค์ อุดมศิลป์, และรักชนก เจนวรากุล. (2548). การรับรู้และการเข้าถึงสื่อสาธารณสุขในจังหวัดเชียงราย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

60. ปรีชา อุปโยคิน และ สุรินทร์ ทำเพียร. (2551). สถานการณ์และแนวโน้มการเพาะปลูกยาสูบพื้นเมืองในภาคเหนือตอนบน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุม การบริโภคยาสูบ.

61. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2553). การวิจัยโครงการพัฒนากรอบแนวคิดในการพัฒนาระบบบำบัดรักษาผู้ป่วยเชิงบูรณาการ แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิตเพื่อสุขภาวะสังคมไทย. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข.

62. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2555). ความพึงพอใจในการให้บริการฝึกอบรมครูดาราศาสตร์. กรุงเทพฯ 1 : สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์กรมหาชน).

62. ทิพาภรณ์ เยสุวรรณ์, ปรีชา อุปโยคิน, และ เทิดชัย ชีวะเกตุ. (2555). คนพิการขาขาด:กระบวนการตีตราและการปรับตัว. เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร, 22(2), 51-57.

64. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ (2556). โครงการวิจัยประเมินจังหวัดเชียงราย น่าน และ แม่ฮ่องสอน เพื่อมุ่งสู่จังหวัดปลอดบุหรี่. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.).

65. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2556). โครงการการรณรงค์จังหวัดปลอดบุหรี่: เชียงราย น่าน และแม่ฮ่องสอน. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.).

66. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2556). รูปแบบการควบคุมทางสังคมเพื่อการเลิกสูบบุหรี่: การบูรณาการความร่วมมือระหว่างเครือข่ายชุมชนกับระบบการบริการสุขภาพของรัฐระดับชุมชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.).

67. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2557). โครงการประเมินความพึงพอใจ โครงการฝึกอบรม เพื่อเตรียมความพร้อมในการขยายผลโครงการพัฒนาชนบทเชิงพื้นที่ประยุกต์ จังหวัดเชียงราย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง.

68. ปรีชา อุปโยคิน และคณะ. (2559). ความหลากหลายกลุ่มชาติพันธุ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนในอำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย. เชียงราย: มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง

บทความวิชาการที่ตีพิมพ์ต่างประเทศ/ในประเทศ

69. Preecha Upayokin. (1992). Factors affecting family violence in contemporary Thai society. In Lynne Hunt (ed). Proceeding of the Third Asia Pacific Conference on the Social Sciences and Medicine Perth, l(2), pp.1-11.

70. Preecha Upayokin, Suphot Dendoung, & Mulika Mittiko. (1996). A focused ethnographic study of acute respiratory infection in Northern Thailand. Journal of Ethnomedicine, 9(Special), 101-114.

71. Amornrat Ratanasiri, Pimpawun Boonmongkon, Preecha Upayokin, Prasit Pengsa, & Vanchai Vatanasapt. (2000, September). Illness experience and coping with gynecological cancer among Northeast Thai female patients. Southeast Asian Journal Tropical Medicine and Public Health, 31(1), 547-553.

72. Preecha Upayokin, Pallavat Prapatthong, & Pattra Chondamrongkul. (2017). Ethnic diversity and border economic development in Mae Sai district, Chiang Rai province. Journal of Social Sciences, 47(1), 81-105.

73. ปรีชา อุปโยคิน. (2533). มานุษยวิทยากับระบบการแพทย์และสาธารณสุข. วารสารสังคมศาสตร์การแพทย์, 6(1), 16-32.

74. ปรีชา อุปโยคิน. (2536). สังคมศาสตร์การแพทย์: ความเป็นมาและแนวคิดทางทฤษฎี.วารสารสังคมศาสตร์การแพทย์, 7(1-2), 42-59.

75. ปรีชา อุปโยคิน. (2538, เมษายน). พฤติกรรมการแสวงหาการรักษาระหว่างโรค เรื้อรังและเฉียบพลัน. วารสารสังคมศาสตร์การแพทย์, 1(8), 31-48.

76. ปรีชา อุปโยคิน. (2538). แนวทางการวิเคราะห์ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว.

วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 8(3), 99-107.

77. ปรีชา อุปโยคิน. (2539). การบริการการแพทย์และสาธารณสุข: สวัสดิการที่สังคมไทยต้องการ. วารสารมหาวิทยาลัยมหิดล, 3(2), 92-99.

78. ปรีชา อุปโยคิน. (2556). ความสุขของผู้สูงอายุ. วารสารกองการแพทย์ทางเลือก, 6(1), 31-36.

79. ปรีชา อุปโยคิน. (2557). รูปแบบการควบคุมทางสังคมเพื่อการเลิกสูบบุหรี่ : การบูรณาการความร่วมมือระหว่างเครือข่ายชุมชนกับระบบการบริการสุขภาพของรัฐระดับชุมชน. MFU Connexion: Journal of Humanities and Social Science, 3(2), 46-68.

80. ปรีชา อุปโยคิน. (2561). เพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ. จาก https://thaicam.go.th/เพศสัมพันธ์ในผู้สูงอายุ/

การเสนอผลงานในต่างประเทศ

81. เรื่อง Induced Abortion: Aspects Of Ethic, Moral, Gender, Psychosocial And Reproductive Health Issues In Modern Thai Society.วันที่ 2 สิงหาคม 2537

ณ กรุงเซี่ยงไฮ้ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนจัดโดย Shanghai Institute Parenthood Research / WHO /Collaborating Center for Research in Human Reproduction.

82. เรื่อง Factor Affecting Family Violence in Contemporary Thai Society. วันที่ 8 พฤศจิกายน 2538 ณ เมืองเพิร์ธ ประเทศออสเตรเลีย จัดโดย Third Asian and Pacific Social Science and Medical Conference / Edith Cowan University.

83. เรื่อง Traditional Thai Medicine. วันที่ 9 สิงหาคม 2539 ณ เมืองเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ จัดโดย Society of Finnish Doctors.

84. เรื่อง Later Life of the Rural Thai Elderly. วันที่ 20 สิงหาคม 2540 ณ ประเทศสิงคโปร์ จัดโดย World Congress of Gerontology.

85 เรื่อง Cultural and Sexual Behavior in the Context of Cross - Cultural Studies. วันที่ 24 พฤษภาคม 2541 ณ เมือง คุนหมิง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

จัดโดย SEMEO TROPMED / GTZ / CHASPPAR / CCS.

86. เรื่อง Trends and Strategies for Free Trade Zone Development in the Greater Mekong Sub-region (GMS) Countries. วันที่ 16-18 ตุลาคม 2545 จัดโดย Foreign Affairs Office of The People’s Government of Xishuangbanna Dai National Autonomous Prefecture, Yunnan, China.

87 เรื่อง Holistic Health Care Strategy: A model for Health Care. Reform 9-20December 2003. Organized by World Health Organization, Miracle Grand Conventional Hotel Bangkok, Thailand.

88. เรื่อง University Rating System for Asean/Southeast Asia- A Project Proposal. Collaborative Project between IPPTN, SEAMEO-RIHED. 1-4 August 2009 at Vistana Hotel, Penang, Malaysia.

89. เรื่อง University Rating for achievement in the Area of both nation and capacity building. Collaborative Project between IPPTN, SEAMEO-RIHED. 9-12 April 2001 at Best Western Premier Seri Pacific Hotel Kuala Lumpur, Malaysia.

ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)