ผลงานวิชาการที่สำคัญ | งานวิจัย - ศิราพร ณ ถลาง. (2539). รายงานการวิจัยเรื่องการวิเคราะห์ตำนานสร้างโลกของคนไท. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
- สมยศ เกียรตินันท์, เสาวลักษณ์ อนันตศานต์, ดวงมน จิตร์จำนงค์ และศิราพร ณ ถลาง. (2539). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกำลังขวัญในการปฏิบัติหน้าที่ราชการของตำรวจฝ่ายอำนวยการ : ศึกษาเฉพาะกรณีข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจนครบาล. กรุงเทพฯ: คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2541). คติชาวบ้านและวรรณกรรม : รายงานผลการวิจัยฉบับสมบูรณ์ ชุดโครงการประเมินสถานภาพไทศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
- ศิราพร ณ ถลาง และสุพิน ฤทธิ์เพ็ญ. (2558). คติชนในบริบทข้ามพรมแดน งานปอยไทใหญ่ในจังหวัดเชียงใหม่. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
งานเขียนบทความในหนังสือและวารสาร
- ศิราพร ฐิตะฐาน. (2524). เพลงพื้นบ้านตามความคิดของนักคติชนวิทยาตะวันตก. อักษรศาสตร์ (มศก.), 13(2), 76-87.
- ศิราพร ฐิตะฐาน ณ ถลาง. (2536). ละครนิทานจักร ๆ วงศ์ ๆ ในโทรทัศน์ : กระจกสะท้อนความสืบเนื่องและความเปลี่ยนแปลงทางสังคม. วารสารสุโขทัยธรรมธิราช, 6(2), 66-81.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2537). วรรณคดีไทย. ใน เอกสารการสอนชุดวิชาไทยศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2537). สังข์ทอง : ความแตกต่างในการตีความโดยบุคคลต่างสถานภาพในครอบครัว. ใน สังข์ทอง. เชียงใหม่: ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยพายัพ.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2538). เจ้าพารา - ปู่ขวัญข้าว : พุทธกับผีในระบบความเชื่อและศาสนาของคนไทเมืองขอน. ใน คนไทใต้คง : ไทใหญ่ในยูนนาน. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา ฝ่ายวิจัยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2541). ตำนานกับวัฒนธรรม : กรณีศึกษาตำนานข้าวของคนไท. ว.ภาษาและวรรณคดีไทย, 15, 35-53.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2543). คติชนวิทยา จากคติชนสู่ชาวบ้านและชาวเมือง. วรรณดดีและวรรณคดีไทย, 17, 78-94.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2544). ความสนใจของนักคติชนไทยจาก Folklore ถึง Netlore. ว.ภาษาและวรรณคดีไทย, 18(18), 53-61.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2546). ความสนใจในคติชน : จาก folklore ถึง metlore. นิตยสารไทย, 6, 21-27.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2550). ความสนใจใหม่ๆ ในแวดวงคติชนวิทยา. ว.มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 2(1), 1-14.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2556). คติชนสร้างสรรค์ : บทปริทัศน์บริบททางสังคมและแนวคิดที่เกี่ยวข้อง. วารสารอักษรศาสตร์, 42(2), 1-74.
- ศิราพร ณ ถลาง. (ม.ป.พ.). กาเลหม่านไต 1999 : บันทึกการเดินทางเยือนถิ่นไทอาหม ไทอ่ายตอน ไทพ่าเก. ใน ชนชาติไท : รวมบทความ. ม.ป.ท..
งานเขียนตำราและหนังสือ
- ศิราพร ฐิตะฐาน ณ ถลาง. (2523). ทฤษฎีการแพร่กระจายของนิทาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
- ศิราพร ฐิตะฐาน ณ ถลาง. (2537). ในท้องถิ่นมีนิทานและการละเล่น : การศึกษาคติชนในบริบททางสังคมไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.
- ศิราพร ณ ถลาง และคนอื่นๆ. (2542). สังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
- ศิราพร ณ ถลาง และสุกัญญา สุจฉายา. (2543). คติชนในภาพเชิงบานหน้าต่างพระอุโบสถ วัดพระเชตุพน. กรุงเทพฯ: คณะสงฆ์วัดพระเชตุพน ร่วมกับ ศูนย์คติชนวิทยาและภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2545). ชนชาติไทในนิทาน : แลลอดแว่นคติชนและวรรณกรรมพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ: มติชน.
- ศิราพร ฐิตะฐาน ณ ถลาง และคนอื่นๆ. (2547). เอกสารการสอนชุดวิชาความเชื่อและศาสนาในสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่6. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
- ศิราพร ณ ถลาง. (2548). ทฤษฎีคติชนวิทยา : วิธีวิทยาในการวิเคราะห์ตำนาน-นิทานพื้นบ้าน. กรุงเทพฯ : ศูนย์คติชนวิทยา และภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ศิราพร ณ ถลาง และคนอื่นๆ. (2558). ประเพณีสร้างสรรค์ในสังคมไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยสิรินธร (องค์การมหาชน).
- ศิราพร ณ ถลาง. (2559). "คติชนสร้างสรรค์" : บทสังเคราะห์และทฤษฎี. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยสิรินธร (องค์การมหาชน).
- ศิราพร ณ ถลาง และคนอื่นๆ. (2559). มองคติชนเห็นตัวตนชาติพันธุ์. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยสิรินธร (องค์การมหาชน).
- ประคอง นิมมานเหมินท์, ยรรยง จิระนคร, ศิราพร ณ ถลาง และสุกัญญา สุจฉายา. (2560). คติชนคนไทในวัฒนธรรมข้าว. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
การประชุมทางวิชาการ
- ธีระพันธ์ เหลืองทองคำ และคนอื่นๆ. (2541). โครงการประเมินสถานภาพไทศึกษา : เอกสารประกอบการประชุมเสนอผลการวิจัย. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ศิราพร ณ ถลาง. (2542). ความขัดแย้งและการประนีประนอมระหว่างความเชื่อดั้งเดิมกับพุทธศาสนาที่สะท้อนจากนำนานข้าว สำนวนต่าง ๆ ของชนชาติไท. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเรื่อง ควันหลงจากการประชุมไทยศึกษานานาชาติ ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- เด็ดเดี่ยว เหล่าสินชัย และคนอื่นๆ. (2006). ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรม ประชุมวิชาการ ครั้งที่ 3: เอกสารประกอบการประชุม. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://203.131.219.242/cdm/ref/collection/trf_or_t... . (วันที่ค้นข้อมูล : 11 มกราคม 2562).
งานบรรณาธิการ
- ศิราพร ณ ถลาง และสุกัญญา ภัทราชัย. (บรรณาธิการ). (2542). คติชนกับคนไทย-ไท : รวมบทความทางด้านคติชนวิทยาในบริบททางสังคม. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ศิราพร ณ ถลาง. (บรรณาธิการ). (2543). นิทานพื้นบ้านศึกษา. กรุงเทพฯ: โครงการตำราคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ศิราพร ณ ถลาง. (บรรณาธิการ). (2543). เพลงพื้นบ้านศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์คติชนวิทยา ร่วมกับโครงการตำรา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ศิราพร ณ ถลาง. (บรรณาธิการ). (2544). ไวยากรณ์ของนิทาน : การศึกษานิทานเชิงโครงสร้าง. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ศิราพร ณ ถลาง. (บรรณาธิการ). (2546). แบบเรื่องนิทานสังข์ทอง : การแพร่กระจายและความหลายหลาก. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ศิราพร ณ ถลาง. (บรรณาธิการ). (2556). วรรณกรรมพื้นบ้านไทย : มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของชาติ ที่ขึ้นทะเบียน พ.ศ. 2553-2556. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม.
- ศิราพร ณ ถลาง. (บรรณาธิการ). (2558). เรื่องเล่าพื้นบ้านไทยในโลกที่เปลี่ยนแปลง. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิริธร (องค์การมหาชน).
- ศิราพร ณ ถลาง และปรมินท์ จารุวร. (บรรณาธิการ). (2560). อิงอดีตสนองปัจจุบัน : คติชนสร้างสรรค์สังคมร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิทยานิพนธ์
|
---|