นพรัตน์ ไชยชนะ

อาจารย์ประจำสาขาวิชานวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี สนใจและเชี่ยวชาญในประเด็นทรัพยากรทางวัฒนธรรม, ความสัมพันธ์และปฏิบัติการทางสังคม, การปรับตัวทางวัฒนธรรม, พิธีกรรมกับการเปลี่ยนแปลง, วิธีวิจัยเชิงบูรณาการสังคมวิทยา-มานุษยวิทยา, ชาติพันธุ์สัมพันธ์, ครอบครัวและเครือญาติ

146 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (สาขาวิชาสังคมวิทยา 6110) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

รางวัลที่เคยได้รับ

  1. รางวัลศิษย์เก่าดีเด่นด้านวิชาการ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี พ.ศ.2557
  2. รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมธิราช ปี พ.ศ.2556
  3. รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยทักษิณ ปี พ.ศ. 2559
  4. รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชมเชย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปี พ.ศ. 2562
  5. รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยดีเด่น มหาวิทยาลัยพะเยา ปี พ.ศ. 2566
  6. รางวัลศิษย์เก่าดีเด่น ด้านการศึกษา โรงเรียนสะเดา “ขรรค์ชัยกัมพลานนท์อนุสรณ์” ปี พ.ศ. 2567
  7. รางวัลเข็มศิษย์เก่าดีเด่น ด้านผลงานดีเด่น คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี พ.ศ. 2567
ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต (การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2562) วิทยานิพนธ์ อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์มอญจากรุ่นสู่รุ่น: กรณีศึกษาบ้านวังกะ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี
  • ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (พัฒนามนุษย์และสังคม) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2555) วิทยานิพนธ์ วัดราชประดิษฐาน (วัดพะโคะ) กับการเปลี่ยนแปลงของชุมชนโดยรอบ (พ.ศ. 2506-2552)
  • ปริญญาตรี ศิลปศาสตรบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) มหาวิทยาลัยทักษิณ (2553)
  • มัธยมศึกษา โรงเรียนสะเดา “ขรรค์ชัยกัมพลานนท์อนุสรณ์”
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสาขาวิชานวัตกรรมสังคมเพื่อการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
อีเมลChimmanee2531@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจประวัติศาสตร์ท้องถิ่น, การพัฒนาชุมชน, กลุ่มชาติพันธุ์มอญ, กะเหรี่ยง, อัตลักษณ์วัฒนธรรม, การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และชุมชน
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

รายงานวิจัย

  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2567). การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากบนฐานทุนทางวัฒนธรรมโดยยุทธศาสตร์ BCG ของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านหนองบาง ตำบลลิ่นถิ่น อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี (งบแผ่นดิน)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2567). การพัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนจากภูมิปัญญาท้องถิ่นเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพทางการจัดการชุมชน บ้านทุ่งนางครวญ ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี (งบรายได้)
  • พจนีย์ สุขชาวนา, วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์, มะรอแซะ เล๊าะและ, วีระ ยุคุณธร, สุภพงษ์ สุขชาวนา, วิยะดา พลชัย และนพรัตน์ ไชยชนะ. (2567). การอนุรักษ์และฟื้นวิถีโปฮะมอดบ้างสู่การยกระดับเศรษฐกิจฐานรากกลุ่มชาติพันธุ์มอญบ้านวังกะ อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี (บพท.)
  • พจนีย์ สุขชาวนา, วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์, เศกศิทธิ์ ปักษี, สุภพงษ์ สุขชาวนา, วิยะดา พลชัย และนพรัตน์ ไชยชนะ. (2566). การจัดการทุนวัฒนธรรมเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนตำบลท่าขนุน อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. (บพท.)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2566). แนวทางการพัฒนาทุนวัฒนธรรมเพื่อการพัฒนาชุมชนชาติพันธุ์ชอุ้ง (สโอจ) บ้านทุ่งนา ตำบลหนองเป็ด อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี. (งบรายได้)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2565). แนวทางการสร้างความมั่นคงทางอาหารชุมชนชาติพันธุ์ขมุบ้านบนเขาแก่งเรียง ตำบลท่ากระดาน อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี โดยยุทธศาสตร์ BCG.
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2564). แนวทางส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านแม่กระบุง ตำบลแม่กระบุง อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี. (งบรายได้)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ (2563). การย้ายถิ่นและการปรับตัวของชาวอีสาน: กรณีศึกษาบ้านเจาะเหลาะ ตำบลนาสวน อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี (งบรายได้)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2561). แนวทางเสริมสร้างศักยภาพชุมชนด้านความมั่นคงทางอาหารของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโปร์บ้านทิพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี (งบแผ่นดิน)
  • อุไรพร จันทะอุ่มเม่า, ประภาดา วัชรนาถ, เดชา สีดูกา, นพรัตน์ ไชยชนะ, ธัญลักษณ์ เกิดทรัพย์, กรุณา คุ้มพร้อม, นิพิธพนธ์ สุปัญบุตร, วรรณวิภา เล้าอรุณ, และสุพัตร ชัยวรรณ. (2560). การขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนด้วยกระบวนการย้อนรอยวิถีไทย. (งบสนับสนุนภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ลุชมชน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
  • ประภาดา วัชรนาถ , นพรัตน์ ไชยชนะ, เดชา สีดูกา และธัญลักษณ์ เกิดทรัพย์. (2560). วิถีการเกษตรของชุมชนบ้านหนองปากง่าม หมู่ที่ 23 ตำบลทุ่งลูกนก อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม. (งบสนับสนุนภาควิชาการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ลุชมชน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์).
  • นพรัตน์ ไชยชนะ, พลวัต วุฒิประจักษ์. (2560). การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนบ้านตลุงใต้ ตำบลดอนแสลบ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี (งบแผ่นดิน)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และพลวัต วุฒิประจักษ์. (2560). ความมั่นคงทางอาหารของคนชายขอบบนความหลากหลายของทรัพยากรท้องถิ่น บ้านบ้องตี้ล่าง ตำบลบ้องตี้ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี (งบแผ่นดิน)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2560). ปฏิบัติการทางวัฒนธรรมในการพิทักษ์อาหารบ้านป่านางเย้อในมิติวัฒนธรรมบนความหลากหลายของทรัพยากรท้องถิ่นบ้านป่านางเย้อ ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี (งบแผ่นดิน)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2559). การปรับปรนและการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมอาหารชุมชนบ้านหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี (เงินรายได้)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2558). ศึกษาวัฒนธรรมการกินของคนหนองบัว ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี (เงินรายได้)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และวีระวัฒน์ อุดทรัพย์. (2558). ความเชื่อมโยงระหว่างปัจจัยความมั่นคงทางอาหารที่มีผลต่อสุขภาวะ พระสงฆ์บ้านไร่ป้า ตำบลห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี (งบแผ่นดิน)
  • ภัคธร ชาญฤทธิเสน และนพรัตน์ ไชยชนะ. (2558). แหล่งเรียนรู้ทางวัฒนธรรมบ้านทิพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี งบสนับสนุนสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
  • จักษุมาลย์ วงษ์ท้าว, นพรัตน์ ไชยชนะ และภัคธร ชาญฤทธิเสน. (2557). ความมั่นคงทางอาหารในมิติวัฒนธรรมบนความหลากหลายของทรัพยากรท้องถิ่น บ้านทิพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี งบสนับสนุนสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)

บทความตีพิมพ์ในวารสาร TCI กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 และวารสารทั่วไป

  • นพรัตน์ ไชยชนะ, วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์, มะรอแซะ เล๊าะและ, พจนีย์ สุขชาวนา, วีระ ยุคุณธร,สุภพงษ์ สุขชาวนา, วิยะดา พลชัย. (2569). กลยุทธ์การอนุรักษ์และจัดการทุนทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์มอญบ้านวังกะ:บทเรียนจากการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. สักทอง:วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร, 32(1), (ตอบรับตีพิมพ์). (TCI 1)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ, วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์, พจนีย์ สุขชาวนา, วีระ ยุคุณธร, สุภพงษ์ สุขชาวนา,วิยะดา พลชัย และมะรอแซะ เล๊าะและ. (2567). การพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากผ่านทุนทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษากลุ่มชาติพันธุ์มอญบ้านวังกะ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 12(2), (ตอบรับตีพิมพ์). (TCI 2)
  • วีระวัฒน์ อุดมทรัพย์ พจนีย์ สุขชาวนา, เศกศิทธิ์ ปักษี, สุภพงษ์ สุขชาวนา, วิยะดา พลชัย และนพรัตน์ ไชยชนะ. (2567). แนวทางการอนุรักษ์ประเพณีฟาดข้าวกะเหรี่ยงเพื่อการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาชุมชนบ้านหนองบางและชุมชนบ้านทุ่งเสือโทน อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารอินทรนิลทักษิณสาร, 19(1), 113-139. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2566). ฐานทรัพยากรท้องถิ่นกับความมั่นคงทางอาหารบ้านป่านางเย้อ ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี. Trends of Humanities and Social Sciences Research. 11(2), 205-224. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2566). แนวทางการสร้างความมั่นคงทางอาหารชุมชนชาติพันธุ์ขมุบ้านบนเขาแก่งเรียง ตำบลท่ากระดาน อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารอินทนิลทักษิณสาร. 18(1), 111-144. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2566). แนวทางส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์กะเหรี่ยงบ้านแม่กระบุง ตำบลแม่กระบุง อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี. Trends of Humanities and Social Sciences Research, 11(1), 154- 184. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2565). ความมั่นคงทางอาหารบ้านบ้องตี้ล่าง ตำบลบ้องตี้ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 10(2), 205 – 224. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2565). วิถีชีวิตและการย้ายถิ่นของชาวอีสาน: กรณีศึกษาบ้านเจาะเหลาะ ตำบลนาสวน อำเภอศรีสวัสดิ์ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 10(1), 295-319. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ อภิชาต ใจอารีย์ และประสงค์ ตันพิชัย. (2564). กระบวนการเรียนรู้อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์มอญ: กรณีศึกษาบ้านวังกะ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 9(1), 256–278. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2563). “เรียเจียเวาะ” วิถีการอยู่ร่วมกันเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร: กรณีศึกษาหมู่บ้านทิพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 8(1), 205 – 222. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2563). แนวทางเสริมสร้างศักยภาพชุมชนด้านความมั่นคงทางอาหาร: กรณีศึกษาบ้านทิพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 8(1), 158-171. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2562). แกงบวนบ้านตลิ่งแดงและความมั่นคงทางอาหารในท้องถิ่น. วารสารอินทนิลทักษิณสาร มหาวิทยาลัยทักษิณ, 14(1), 135 – 165. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และจักษุมาลย์ วงษ์ท้าว. (2561). ความมั่นคงทางอาหารในมิติวัฒนธรรมบนความหลายของทรัพยากรท้องถิ่น บ้านทิพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 11(1), 44 – 71. (TCI 1)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และวีระวัฒน์ อุดมทรัพย์. (2561). วิถีชีวิตและความมั่นคงทางอาหารในมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโปร์. วารสารศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 19(2), 9 – 19. (TCI 1)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และวีระวัฒน์ อุดมทรัพย์. (2560). “ถ่งเมียเวาะ” พิธีกรรมความเชื่อกะเหรี่ยงโปร์บ้านไร่ป้า ตำบลห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 13(2), 64 – 82. (TCI 1)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และวีระวัฒน์ อุดมทรัพย์. (2559). "ลือกาเวาะ" วิถีทำมาหากินกะเหรี่ยงโปร์บ้านไร่ป้า ตำบลห้วยเขย่ง อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ, 11(2), 119 – 140. (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2559). ปฏิบัติการทางวัฒนธรรมในการถนอมอาหาร. วารสารคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 8(2), 271-294. (TCI 1)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2557). การสืบสานวัฒนธรรมการกินของกระเหรี่ยงโปบ้านทิพุเย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. 2(2). (TCI 2)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2556). วัตถุมงคลหลวงพ่อทวดเหยียบน้ำทะเลจืดวัดพะโคะ. วารสารรวมบทความวิชาการและงานวิจัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี. 1(1).
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และศรีสุพร ปิยรัตนวงศ์. (2556). บทบาทและความสำคัญของสมเด็จเจ้าพะโคะวัดราชประดิษฐาน (วัดพะโคะ) ต่อชุมชนโดยรอบ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา, 6(1), 1-14.
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และศรีสุพร ปิยรัตนวงศ์. (2556). บทบาทและความสำคัญของวัดพะโคะ (วัดราชประดิษฐาน): ในบริบทสังคมกระแสปัจจุบัน. วารสารวัฒนธรรมและศิลปะ, 14(2),1-13. (TCI 1)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และศรีสุพร ปิยรัตนวงศ์. (2556). บทบาทและความสำคัญของวัดราชประดิษฐาน (วัดพะโคะ) ต่อชุมชนโดยรอบ. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. 6(1), 1 – 12. (TCI 1)
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และศรีสุพร ปิยรัตนวงศ์. (2555). บทบาทและความสำคัญของชุมชนรอบวัดราชประดิษฐาน (วัดพะโคะ): ในบริบทกระแสสังคมปัจจุบัน. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี, 1(2), 1-15. (TCI 2)

บทความวิจัยจากการประชุมวิชาการระดับชาติ

  • นพรัตน์ ไชยชนะ และคณะ. (2567). ภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่นกับความสัมพันธ์เชิงพื้นที่: กรณีศึกษาชุมชนบ้านตลิ่งแดงตำบลหนองบัว อำเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ในการประชุมทางวิชาการระดับชาติ “พะเยาวิจัย ครั้งที่ 13” ระหว่างวันที่ 24-26 มกราคม 2567 ณ หอประชุมพญางําเมือง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2564). กระบวนการเรียนรู้อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์มอญ: กรณีศึกษาบ้านวังกะ ตำบลหนองลู อำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี. ในการประชุมทางวิชาการระดับชาติ “พะเยาวิจัย ครั้งที่ 10” ระหว่างวันที่ 28-29 มกราคม 2564 ณ หอประชุมพญางําเมือง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2563). “เรียเจียเวาะ” วิถีการอยู่ร่วมกันเพื่อสร้างความมั่นคงทางอาหาร: กรณีศึกษา บ้านทิพุเย ตําบลชะแล อําเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. ในการประชุมทางวิชาการระดับชาติ “พะเยาวิจัย ครั้งที่ 9” ระหวางวันที่ 23-24 มกราคม 2563 ณ หอประชุมพญางําเมือง มหาวิทยาลัยพะเยา จังหวัดพะเยา
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2562). แนวทางเสริมสร้างศักยภาพชุมชนด้านความมั่นคงทางอาหาร:กรณีศึกษาบ้านทิพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. ในงานประชุมวิชาการระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษาทั่วประเทศ ครั้งที่ 13 ภายใต้หัวข้อ “ขับเคลื่อนพลังเครือข่ายการวิจัย และนวัตกรรม อย่างสร้างสรรค์ เพื่อพัฒนาประเทศไทย 4.0 ให้ยั่งยืน” ในวันที่ 20-22 พฤศจิกายน 2562 ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2562). การพิทักษ์อาหารบ้านป่านางเย้อ ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี. ในงานประชุมวิชาการระดับชาติศรีโคตรบูรณ์ศึกษา ครั้งที่ 1 “แลสายน้ำโขงกับงานวัฒนธรรมศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น” ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยนครพนม จังหวัดนครพนม.
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2562). แนวทางเสริมสร้างศักยภาพชุมชนด้านความมั่นคงทางอาหารของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโปร์บ้านทิพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. การประชุมผลงานวิจัยระดับชาติในมหกรรมวิจัยแห่งชาติ 2562 (Thailand Research Expo 2019) เทคโนโลยี และนวัตกรรมทีที่มีคุณภาพเพื่อเชื่อมโยงบูรณาการ องค์ความรู้สู่การใช้ประโยชน์ในการพัฒนาประเทศ. ระหว่างวันที่ 7-10 เมษายน 2562 ณ โรงแรมเซ็นทาราแกรนด์ และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร์ เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ.
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2562). การพิทักษ์อาหารของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโปร์ บ้านบ้องตี้ล่าง ตำบลบ้องตี้ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี. ที่ประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยพะเยา ครั้งที่ 8 ระหว่างวันที่ 23-25 มกราคม พ.ศ. 2562 ณ หอประชุมพญางำเมือง มหาวิทยาลัยพะเยา
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และพลวัต วุฒิประจักษ์. (2561). แนวทางการจัดตั้งกลุ่มอาชีพดอกไม้จันทน์ : กรณีศึกษาบ้านตลุงใต้ ตำบลดอนแสลบ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ พะเยาวิจัย ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 25-26 มกราคม 2561 ณ หอประชุมพญางำเมือง มหาวิทยาลัยพะเยา
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และพลวัต วุฒิประจักษ์. (2561). “สะนูมู่หละ” วีถีชีวิตและความมั่นคงทางอาหารของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโปร์บ้านบ้องตี้ล่าง ตำบลบ้องตี้ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ RANC 2018 เครือข่ายวิจัยอุดมศึกษาทั่วไประเทศครั้งที่ 12 “สานพลังเครือข่ายอุดมศึกษา เพื่อความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน” วันที่ 27- 29 พฤษภาคม 2561 ณ โรงแรมธรรมรินทร์ ธนา จังหวัดตรัง.
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และพลวัต วุฒิประจักษ์. (2561). "วิถีชีวิตและการสืบสานวัฒนธรรมการกินกะเหรี่ยงโปบ้านบ้องตี้ล่าง ตำบลบ้องตี้ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี". นำเสนอ ในงานประชุมวิชาการสังคมศาสตร์วิชาการระดับชาติครั้งที่ 14 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย จังหวัดเชียงราย
  • ชมพูนุช คำจันทร์, หทัยชนก ตันธนะชัย, นพรัตน์ ไชยชนะ. (2560). การดำเนินงานของกองทุนหมู่บ้าน:กรณีศึกษาบ้านตลุงใต้ ตำบลดอนแสลบ อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี. ในการประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ วันที่ 7 เมษายน 2560.
  • พงษ์มนัส, นพรัตน์ ไชยชนะ. (2560). การประยุกต์ใช้หลักการเศรษฐกิจพอเพียง:กรณีศึกษาบ้านห้วยน้ำโจน ตำบลเขาน้อย อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี. ในการประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ วันที่ 7 เมษายน 2560.
  • อุไรพร จันทะอุ่มเม้า และคณะ. (2560). การขับเคลื่อนสุขภาวะชุมชนโดยผู้สูงอายุด้วยกระบวนการย้อนรอยวิถี: ด้านอาหารชุมชน กรณีศึกษาชุมชนบ้านอ้อกระทุง. ในการประชุมวิชาการระดับชาคิ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 14 ธันวาคม 2560.
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2560). "บัว" ภูมิปัญญาอาหารท้องถิ่นคนบ้านหนองบัว. นำเสนอในที่ประชุมวิชาการในโครงการเสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้การเชื่อมโยงการวิจัยสู่การเรียนการสอน ในบริบทการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี วันที่ 13 กรกฎาคม 2560
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2560). ปฏิบัติการทางวัฒนธรรมในการพิทักษ์อาหารบ้านป่านางเย้อ ตำบลหนองบัว อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี. ในการประชุมวิชาการระดับชาติ "ราชภัฏหมู่บ้านจอมบึงวิจัย ครั้งที่ 5" วันที่ 1 มีนาคม 2560 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง จังหวัดราชบุรี
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2559). “ถ่งเมียเวาะ” พิธีกรรมความเชื่อกะเหรี่ยงโปร์บ้านไร่ป้า. ในการประชุมวิชาการระดับชาติลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาครั้งที่ 4 และพัทลุงศึกษา-ภูมิปัญญาชุมชน-ลุ่มน้ำทะเลสาบ ครั้งที่ 2. วันที่ 30-31 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และวีระวัฒน์ อุดทรัพย์. (2559). ความมั่นคงทางอาหารในมิติวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์กะเหรี่ยงโปร์. ในที่ประจำวิชาการระดับชาติ ราชธานีวิชาการ ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยราชธานี จังหวัดอุบลราชธานี
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2558). แกงบวน: ภูมิปัญญาท้องถิ่นคนบ้านหนองบัว. ในงานประชุมระดับชาติและนานาชาติการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ 2 4-25 ธันวาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • จักษุมาลย์ วงษ์ท้าว, นพรัตน์ ไชยชนะ, ภัคธร ชาญฤทธิเสน. (2558). ความมั่นคงทางอาหารในมิติวัฒนธรรมบนความหลากหลายขอทรัพยากรท้องถิ่นหมู่บ้านทิพุเย ตำบลชะแล อำเภอทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี. ในการประชุมใหญ่โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาครั้งที่ 3 วันที่ 9-11 มีนาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
  • นพรัตน์ ไชยชนะ. (2558). เหลียวหลังแลหน้า: วัฒนธรรมการกินของคนบ้านหนองบัว. ในรวมบทความวิจัยและบทความวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ฉบับที่ 3
  • นพรัตน์ ไชยชนะ และศรีสุพร ปิยรัตนวงศ์. (2555). ปฏิสัมพันธ์ระหว่างวัดราชประดิษฐาน (วัดพะโคะ) กับชุมชนโดยรอบ. นำเสนอในที่ประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 4-5 กันยายน พ.ศ. 2555.

ผลงานตีพิมพ์ระดับนานาชาติ

  • Chaichana, N., Jaiaree, A., and Tunpichai, P. (2018). Process of Mon Ethnic Identity Construction: A Case Study in Ban Wangka, Nong Lu Sub-district, Sangkhlaburi District, Kanchanaburi Province, Thailand” PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research (ISSN: 2286-959x) on the Vol. 7, No. 2, in December 2018.
  • Chaichana, N., (2018). Modes of Production and Food Security in a Cultural Dimension: A Case Study of Pwo Karen Community in Ban Thiphuye, Chalae Sub-district, Thong Pha Phum District, Kanchanaburi Province, Thailand. Asian Political Science Review (ISSN: 2551-0862) on the Vol. 2, No. 2 , July – December 2018.
  • Chaichana, N., Jaiaree, A., and Tunpichai, P. (2019). The Mon Ethnic Identity Reflected through the Ritual of Ancestor Worship at Ban Wangka, Kanchanaburi Province, Thailand. Rian Thai International Journal of Thai Studies, Institute of Thai Studies, Chulalongkorn University. On the Vol. 12 No. 2/2019.

การนำเสนอในที่ประชุมวิชาการระดับนานาชาติ

  • Watcharnat, P.,Seeduka, D., and Chaichana, N., (2016). Pesticide Using Behaviors of Farmers in Ban Nong Pak Ngam Community, Nakhon Pathom Province, Thailand. Conference Symposium on Education and Social Sciences, Singapore, September 13-15, 2016
  • Chaichana, N., Jaiaree, A., and Tunpichai, P. (2018). Process of Mon Ethnic Identity Construction: Ban Wangka, Nong Lu Sub-district, Kanchanaburi Province, Thailand. Conference of the Asian Studies Association of Australia, to be held at the University of Sydney from 2-5 July 2018.
  • Chaichana, N. (2018). Cultural Practices in Food Protection of Ban Pa Nang Yoe, Nong Bua Sub-District, Mueang District, Kanchanaburi Province, Thailand. Conference ISBSS 2018 International Symposium on Business and Social Sciences Singapore, Novotel Singapore Clarke Quay from August 28-30 2018.
  • Chaichana, N., (2019). The Way of Life and Food Security in a Cultural Dimension of Ban Taling Daeng Community. 2019 International Symposium on Business and Social Sciences, Okinawa, Japan, July 1-3, 2019.
  • Chaichana, N., (2023). Plan to maintain the local resource base of the community Ban Pa Nang Yoe, Nong Bua Sub-district, Mueang District, Kanchanaburi Province Thailand. 2023 ICBASS The 7th International Conference on Business and Social Science, July 12-14, 2023 Osaka Japan.

สิทธิบัตรการออกแบบผลิตภัณฑ์

  • นพรัตน์ ไชยชนะ, ธนสน บุญพา และจิราภรณ์ จันทศร. (2567). แบบพับกล่องบรรจุภัณฑ์ย่ามทอมือบ้านหนองบาง (2402004136). กรมทรัพย์สินทางปัญญา.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)