ฟรานซีส นันตะสุคนธ์

อาจารย์ประจำภาควิชานาฏยสังคีต คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

138 views


ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก ศิลปกรรมศาสตรดุษฏีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555
  • ปริญญาโท ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การประพันธ์เพลง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551
  • ปริญญาตรี รัฐศาสตรบัณฑิต (รัฐประศาสนศาสตร์) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชานาฏยสังคีต คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
อีเมลfrancis.nunt@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจการประพันธ์เพลง, ทฤษฏีดนตรีวิทยา
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

ผลงานวิจัย

  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2565). การศึกษาสังเคราะห์ความรู้และสถานภาพการวิจัยทางดนตรีชาติพันธุ์วิทยาในเขตจังหวัดภาคตะวันตกของประเทศไทย. นครปฐม, กองทุนวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์คณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562.
  • สิปปวิชญ์ กิ่งแก้ว, กฤษณพงศ์ ทัศนบรรจง, ฟรานซีส นันตะสุคนธ์, บุณฑริกา คงเพชร. (2565). ชุดโครงการวิจัย เรื่อง “นันโทปนันทสูตรคำหลวง : สืบสาน บันดาลศิลป์”, โครงการย่อยที่ 2 การสร้างสรรค์ผลงานทางสังคีตศิลป์ไทย : นันโทปนันทนาคราช. นครปฐม, กองทุนสนับสนุนการวิจัย นวัตกรรมและการสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2565.
  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2564). สัญลักษณ์และประวัติคีตวรรณกรรมสยามโดย “พระอภัยพลรบ” นักวิทยาดนตรีคนแรกของประเทศไทย. นครปฐม, ทุนอุดหนุนการวิจัยและงานสร้างสรรค์ จากกองทุนวิจัยและสร้างสรรค์ คณะอักษรศาสตร์ ปีงบประมาณ 2563.

บทความวิจัยในวารสารทางวิชาการ

  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2565). การศึกษาสังเคราะห์ความรู้และสถานภาพการวิจัยทางดนตรีชาติพันธุ์วิทยา ในเขตจังหวัดภาคตะวันตกของประเทศไทย (A synthesis of ethnomusicological knowledge and the exploratory research on ethnomusicology in western provinces of Thailand). วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 42 ฉบับที่ 2 (มีนาคม-เมษายน 2565). หน้าที่ 112-123. Article No. 9. (TCI กลุ่มที่ 1) 2565
  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2564). สัญลักษณ์และประวัติคีตวรรณกรรมสยามโดย “พระอภัยพลรบ”: นักวิทยาดนตรี คนแรกของประเทศไทย (The Siamese historical music transcription of “Phra Aphaipholrop”: The pioneer musicologist of Thailand). วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 41 ฉบับที่ 5 (กันยายน-ตุลาคม 2564). หน้าที่ 57-69. 2564.

บทความวิจัยที่เผยแพร่ในที่ประชุมวิชาการ (ระดับชาติและนานาชาติ)

  • รุจิรา ทรัพย์เจริญ และฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2566). การวิเคราะห์ผลงานการประพันธ์เพลงเถาสำเนียงเขมรของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง), รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านดนตรีสำหรับนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ACTION ครั้งที่ 2 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประเทศไทย, 28 เมษายน 2566, 64-75.
  • สาธิต สงวนพันธ์ และฟรานซีส นันตะสุคนธ์. (2566). การวิเคราะห์ผลงานการประพันธ์เพลงประเภทโหมโรงที่นำมาจากเพลงหน้าพาทย์ ของหลวงประดิษฐไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง), รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านดนตรีสำหรับนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ACTION ครั้งที่ 2 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประเทศไทย, 28 เมษายน 2566, 76-92.
  • ณัฐฎา กุลกรรณ์ และฟรานชีส นันตะสุคนธ์. (2566). สานศิลป์ดนตรีถิ่นอีสานใหม่: การสร้างสรรค์ดนตรีร่วมสมัยโดยประยุกต์ดนตรีพื้นบ้านอีสานสำหรับรถแห่ดนตรีในพื้นที่ภาคกลาง, รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการระดับชาติด้านดนตรีสำหรับนิสิตนักศึกษา ระดับปริญญาตรี ACTION ครั้งที่ 2 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ประเทศไทย, 28 เมษายน 2566, 276-288.
  • ฟรานซีส นันตะสุคนธ์ (2561) สัญญะและความหมายในแบบเรียนดนตรีวิทยาของพระอภัยพลรบ. การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 8. คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม ประเทศไทย, 22 มิถุนายน 2561, 719-731.
  • Francis Nuntasukon. (2018). Solmitization: Techiniques and Its Meaning from Phra Apaipolrop. PGVIM International Symposium: “Music and Socio-Cultural Development of ASEAN 2018”. Princess Galyani Vadhana Institute of Music, Thailand. 29 – 31 August 2018. pages 26-27
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิง

ฐานข้อมูลคณาจารย์คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

https://arts.su.ac.th/faculty_of_teachers/francis-...