ธนิก เลิศชาญฤทธ์

อาจารย์ประจำภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

321 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
ตำแหน่งปัจจุบัน

รองศาสตราจารย์ ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

ประสบการณ์ในการการสอน
  • ระดับปริญญาตรี
    • Human Evolution
    • Cultural Resource Management
    • Prehistory of Europe and Africa
    • World Prehistory
    • Heritage and Society
  • ระดับปริญญาโทและปริญญาเอก
    • Theories in Archaeology
    • Field Archaeology
    • Lithic Analysis
    • Pottery Analysis
    • Research Methodology in Archaeology
    • Quantitative and Qualitative Analysis in Archaeology
การแต่งตั้งในตำแหน่งบริหาร
  • กรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน สำนักหอสมุดกลาง มหาวิทยาลัยศิลปากร (2553 –ปัจจุบัน)
  • กรรมการบริหารหลักสูตรปริญญาโท สาขาวิชาการจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม คณะโบราณคดี
  • มหาวิทยาลัยศิลปากร (2551-ปัจจุบัน)
  • กรรมการสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร (2548-2549)
  • หัวหน้าภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (2547-2549)
  • เลขานุการภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (2544-2547)
ประวัติการศึกษา

ปริญญาตรี (โบราณคดี) (เกียรตินิยม), คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, พ.ศ. 2528

M.A. (Anthropology-Archaeology), Washington State University, USA. 1997

Ph.D. (Anthropology-Archaeology), Washington State University, USA. 2001

ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบัน ภาควิชาโบราณคดี คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
อีเมลthanik@su.ac.th, lertritsawang@hotmail.com
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

หนังสือ/ตำรา

  • 2567 การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม: แนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: เจนเนอรัล คอมพิวเตอร์.
  • 2567 คนกับดิน: ภาชนะดินเผาในสังคมมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: เจนเนอรัลคอมพิวเตอร์.
  • 2023 Heritage and Cultural Heritage Tourism: International Perspectives. Cham, Switzerland: Springer. (co-editor)
  • 2560 ภาชนะดินเผายุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย. นนทบุรี: มิวเซียมเพรส.

รายงานวิจัย/รายงานเฉพาะกิจ

  • 2561 การค้าทางไกลยุคก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลาย: หลักฐานโบราณคดีจากภาคกลางของประเทศไทย.รายงานวิจัยเสนอต่อศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
  • 2557 คนกับดิน: ภาชนะดินเผาในสังคมมนุษย์ยุคก่อนประวัตติศาสตร์ในภาคกลางของประเทศไทย.รายงานวิจัยเสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
  • 2549 ภูมิอากาศ สภาพแวดล้อม และอาหารสมัยโบราณ กับการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในภาคกลางของประเทศไทย. รายงานวิจัยภายใต้โครงการวิจัยวิทยาศาสตร์โบราณคดี เสนอต่อสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.
  • 2547 พัฒนาการของความซับซ้อนทางเศรษฐกิจและสังคมจากสมัยก่อนประวัติศาสตร์ตอนปลายถึงยุคแรกเริ่มประวัติศาสตร์ในเขตที่สูงทางตะวันออกของภาคกลางของประเทศไทย. รายงานวิจัยเสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยและสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

บทความในวารสาร/หนังสือ

  • 2567 เด็กในพิพิธภัณฑ์ญี่ปุ่น: พื้นที่ โอกาส เสียง และสิทธิ. ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 45 ฉบับบที่ 3 (มกราคม 2567):
  • 2566 พิพิธภัณฑ์แนวการสื่อความหมาย (Interpretive Museums) ในญี่ปุ่น. วารสารเมืองโบราณ ปีที่ 49 ฉบับที่ 3: 130-133.
  • 2565 บทความเรื่อง “โบราณคดีที่แหล่งโบราณคดีบ้านพรหมทินใต้” ใน โบราณคดีลพบุรี โบราณคดีบ้านพรหมทินใต้. กรุงเทพ: มูลนิธิกรุงเทพประกันภัย, ชมรมอนุรักษ์โบราณวัตถุสถานและสิ่งแวดล้อมจังหวัดลพบุรี, มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพตรี ลพบุรี.
  • 2564 โรคติดต่อจากสัตว์สู่คน: หลักฐานโบราณคดียุคก่อนประวัติศาสตร์. ใน ภัยโควิด วิกฤติโคโรนา: โรคอุบัติใหม่ในมิติสังคม, โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์และนฤพล ด้วงวิเศษ (บรรณาธิการ), หน้า 37-76. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.

บทความ (ภาษาอังกฤษ) ที่มีผู้ทรงคุณวุฒิประเมิน

  • 2024 Technological Aspects of Prehistoric Stone Ornaments from Phromtin Tai, Central Thailand: A View from an Analysis of Drilling Methods. Asian Perspectives 63(1). (first author, with Wannaporn Reinjaeng, J. Mark Kenoyer, Alison Carter, and Randall Law)
  • 2023 Health Indicators in Skeletons from Iron Age Central Thailand: A Preliminary Report from the Site of Phromthin Tai. SPAFA Journal 7(2023): 89-115. (corresponding author, with D. Troy Case and Scott Burnett)
  • 2023 Intangible Cultural Heritage Tourism in Thailand. In Heritage and Cultural Heritage Tourism: International Perspectives, edited by Pei-Lin Yu, Thanik Lertcharnrit, and George S. Smith), pp. 153-166. Amsterdam: Springer.
  • 2022 Archaeology, Public Engagement and Cultural Heritage Tourism. SPAFA Journal 6 (2022): 1-6. (co-author).

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
คำสำคัญโบราณคดีประเทศไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อารยธรรมโลกโบราณ, การจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรม, การวิเคราะห์ภาชนะดินเผา, การวิเคราะห์เครื่องมือหิน แนวคิดและทฤษฎีทางโบราณคดี, วิวัฒนาการของมนุษย์
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)