วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์

Joy-joy กับพวกเราชาว CSD MSU “พัฒนาชุมชนและสังคม” มมส “ไผว่าอีสานแล้ง สิจูงแขนเพิ่นไปเบิ่ง น้ำของไหลอยู่จ้น ๆ มันสิแล้งบ่อนจั่งได๋ ...”

212 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • 2556-2565 ผู้ช่วยวิจัย ภายใต้ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก รุ่นที่ 15 (รองศาสตราจารย์ ดร.พัชรินทร์ สิรสุนทร) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2565-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (บรรจุวันที่ 3 ตุลาคม 2565)

ประวัติการศึกษา
  • พ.ศ.2556 ปริญญาตรี
    • ศศ.บ. (พัฒนาสังคม) มหาวิทยาลัยนเรศวร (เกียรตินิยมอันดับ 1)
    • กศ.บ. (การศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร (เกียรตินิยมอันดับ 1)
  • พ.ศ.2564 ปริญญาเอก
    • ปร.ด. (เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา) มหาวิทยาลัยนเรศวร
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อีเมลoa.apsa@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจ• การพัฒนาชุมชนและสังคม, • สวัสดิการสังคม (ความหลากหลายทางเพศ), • เพศวิถีศึกษา และกะเทยศึกษา, • สัตว์ศึกษา (สุนัขไม่มีเจ้าของ)
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

บทความตีพิมพ์ในวารสาร (ภาษาไทย)

  • พัชรินทร์ สิรสุนทร และวัชรวุฒิ ซื่อสัตย์. (2566). การบูชาเจ้าแม่เทพีแห่งโลก และร่างทรงกะเทยในสังคมเวียดนาม. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 19(2), 1-26.
  • วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์, พัชรินทร์ สิรสุนทร และฐานิดา บุญวรรโณ. (2566). การเคลื่อนย้ายทางสังคม การประกอบสร้าง และความทับซ้อนของอาณาบริเวณของกะเทย : กรณีศึกษา ประเทศไทยและประเทศเยอรมนี. วารสารศรีนครินทรวิโรฒ วิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 15(30), 1-13. [Article 269145]
  • วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์, พัชรินทร์ สิรสุนทร และฐานิดา บุญวรรโณ. (2566). ระบบแม่: ความสัมพันธ์ทางสังคมของชุมกะเทยคาบาเรต์โชว์ ในสังคมไทยและเยอรมัน. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 23(1), 298-329.


บทความตีพิมพ์ในวารสาร (ภาษาอังกฤษ)

  • Patcharin Sirasoonthorn, & Wacharawuth Suesat. (2023). Important Considerations for Implementing Oral Rabies Vaccination of Free-Roaming Dogs in Thailand Urban Communities. Journal of Community Development Research (Humanities and Social Sciences), 16(2), 88-99.


บทความในหนังสือรวมเล่ม

  • พัชรินทร์ สิรสุนทร และวัชรวุฒิ ซื่อสัตย์. (XXXX). ความเชื่อเรื่องนัต และนัตกะด่อว์ : การสถาปนาพื้นที่สังคมของร่างทรงกะเทยในเมียนมา. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, XX(X), XXX-XXX. (อยู่ระหว่างกระบวนการ)
  • วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์. (2563). อาณาบริเวณทางสังคม และระบบแม่ของชุมกะเทย. ใน พัชรินทร์ สิรสุนทร, กมเลศ โพธิกนิษฐ และวัชรวุฒิ ซื่อสัตย์ (บรรณาธิการ), ขัดขืน (หน้า 229-255). พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์. (2558). วาทกรรมการแพทย์ในสังคมไทย: กะเทยไม่ใช่กะเทย. ใน Robert Doyle, ศุภสิทธิ์ ต๊ะนา, อัจฉริยา ชูวงศ์เลิศ และเสาวลักษณ์ ลิ้มศิริวงศ์ (บรรณาธิการ), “ชีวิต อำนาจ ชาติพันธุ์ (Life, Power, and Ethnicity)” รวมบทความวิชาการ ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (หน้า 331-347). พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.


หนังสือตีพิมพ์

  • พัชรินทร์ สิรสุนทร, กานต์สุดา ลีฬหาพงศธร และวัชรวุฒิ ซื่อสัตย์. (XXXX). มนุษย์และสัตว์ศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (อยู่ระหว่างกระบวนการ)
  • พัชรินทร์ สิรสุนทร และวัชรวุฒิ ซื่อสัตย์. (XXXX). ผีกับการเมืองในอุษาคเนย์. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร. (อยู่ระหว่างกระบวนการ)
  • พัชรินทร์ สิรสุนทร, กมเลศ โพธิกนิษฐ และวัชรวุฒิ ซื่อสัตย์ (บรรณาธิการ). (2563) ขัดขืน. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์. (2556). จิตวิญญาณครูอมตะผ่านร่างอาจารย์ใหญ่ ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.พนัส หันนาคินทร์. พิษณุโลก: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.


รายงานการวิจัย

  • วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์. (2565). คำอธิษฐาน และจินตนาการต่อการเกิดใหม่: พิธีกรรม และความเชื่อในพุทธศาสนา กรณีศึกษา ชุมกะเทยล้านนาในสังคมไทย (Praying and Imagining Rebirth: A Case Study of the Rituals and Buddhist Beliefs of the Lanna Kathoey Assemblage in Thai Society). พิษณุโลก: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • พัชรินทร์ สิรสุนทร, วัชรวุฒิ ซื่อสัตย์ และนิรมล พิมน้ำเย็น. (2559). สถานการณ์และสุขภาวะทางเพศของหญิงขายบริการทางเพศ: กรณีศึกษาหญิงข้ามเพศ ในเขตเมืองพิษณุโลก ประเทศไทย. พิษณุโลก: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)