ผลงานวิชาการที่สำคัญ | ผลงานวิจัยภาษาไทย - สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2551). การจัดการศึกษาแบบทวิภาษา(ภาษามลายูถิ่น- ภาษาไทย) สำหรับเยาวชนไทยมุสลิมในโรงเรียนเขตพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้. วารสารเพื่อการพัฒนาพื้นที่. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. (ยังไม่ได้ตีพิมพ์)
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2550). แนวทางการอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมทางภาษา : การสร้างระบบเขียนสำหรับภาษาชาติพันธ์ในประเทศไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.(ยังไม่ได้ตีพิมพ์)
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2550). การจัดการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาท้องถิ่นและภาษาไทยเป็นสื่อ: กรณีการจัดการศึกษาแบบทวิภาษา (ภาษาไทย-มลายูถิ่น) ในโรงเรียนเขตพื้นที่สี่จังหวัดชายแดนภาคใต้. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2549). สถานการณ์ทางภาษาในสังคมไทยกับความหลากหลายทางชาติพันธุ์. วารสารภาษาและวัฒนธรรม ปีที่ 25 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2549. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2549). นวัตกรรมใหม่ของการศึกษาไทย : การพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้ภาษาชาติพันธุ์ (ภาษาแม่) เป็นสื่อ. นครปฐม : สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2549). ความหลากหลายของภาษาและชาติพันธุ์ในประเทศไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2548). วิกฤตทางภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ : ปัญหาหรือโอกาส. ภาษาและวัฒนธรรม. 24(1): 5-17. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2544). ภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต. รวมบทความวิชาการภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท. หน้า 21-37. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2543). พัฒนาระบบเขียนภาษาชอง. วารสารภาษาและวัฒนธรรม 19.2: 5-18. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2542). ภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคกลาง. สารานุกรมวัฒนธรรมไทยภาคกลาง เล่ม 10, หน้า 4699-4707. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2542). ภาษาและชาติพันธุ์ในเขตที่ราบสูงโคราช. สังคมและวัฒนธรรมในประเทศไทย. หน้า 267-284. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร มหาวิทยาลัยศิลปากร.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2541). พัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน กรณีภาษาเขมรถิ่นไทย. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2541). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์: ขมุ. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2532). สนทนาสาธารณสุขและการแพทย์ลัวะ-ปรัย. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์, จิญ เสี่ยว ถิ่น และ มยุรี ถาวรพัฒน์. (2541). ศัพทานุกรมภาษาเวียดนาม-ไทย-อังกฤษ. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. (2547). แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. (2545). แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. วารสารภาษาและวัฒนธรรม. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2545 หน้า 5-35. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- อภิญญา บัวสรวง และ สุวิไล เปรมศรีรัตน์. (2541). สารานุกรมกลุ่มชาติพันธุ์: ญัฮกุ้ร. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. (2540). แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย. ภาษาและวัฒนธรรม 16.2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2540): 5-14. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. (2538). น็อง เทอ ยาง นา เจีย ทำอย่างไรดี คู่มือปฐมพยาบาล ฉบับภาษาเขมรถิ่นไทยและภาษาไทย. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. (2538). เฮาปลึง การสู่ขวัญ. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และคณะ. (2531). ภาษาศาสตร์เชิงสังคม แปลจาก Sociolinguistic: An Introduction by Peter Trudgill. สำนักงานคณะกรรมการการวิจัยแห่งชาติ, 2531.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และ พาน สุขพลำ. (2534). พิธีไหว้พระจันทร์วันเพ็ญเดือนสิบสองของคนไทยเชื้อสายเขมร. วารสารภาษาและวัฒนธรรม 10.2: 47-64.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์. และสุขุมาวดี ขำหิรัญ. (2527). ชื่อหมู่บ้านของอำเภอเมืองสุรินทร์. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และโสภนา ศรีจำปา. (2533). การพัฒนาระบบตัวเขียนภาษาเขมรถิ่นไทย. โครงการพัฒนาสื่อภาษาพื้นบ้าน สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
- สุวิไล เปรมศรีรัตน์ และ อรวรรณ ภูอิสระกิจ. (2539). ลักษณะและการกระจายของภาษาเขมรถิ่นไทย อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของพยัญชนะสะกด. นครปฐม: สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเพื่อพัฒนาชนบท มหาวิทยาลัยมหิดล.
ผลงานวิจัยภาษาอังกฤษ - Suwilai Premsrirat. (2008). Language for National Reconciliation : A Role for Patani Malayin Formal Education in Thailand’s Deep South. Save The Children***
- Suwilai Premsrirat. (2008). Language for National Reconciliation : A Role for Patani Malay in Formal Education in Thailand’s Deep South. Paper present to “Second International Conference on Language Development, Language Revitalization and Multilingual Education in Ethnolinguistic Communities,” on 1-3 July 2008. Twin Towers Hotel. Bangkok. Thailand
- Suwilai Premsrirat. (2008). Ethnic Minority Language: An Urgent Call for Action. Paper present to The International Conference on”National Language Policy: Language Diversity for National Unity” on 4-5 July 2008. Twin Towers Hotel. Bangkok. Thailand
- Suwilai Premsrirat. (2008). Language for National Reconciliation: A Role for Patani Malay in Formal Education in Thailand’s Deep South. Paper present on March 14 2008 at “2008 LIROD International Conference”. The Thai chamber University. Thailand.
- Suwilai Premsrirat. (2007). Language Rights and ” Thainess ” : Mother-tongue- based Bilingual Education is the Key. Cape Town. South Africa.
- Suwilai Premsrirat. (2007). Endangered Languages of Thailand. International Journal of Sociology of Language 186(2007) : 75-93.
- Suwilai Premsrirat and Dennis Malone. (2006). “Language development and language revitalization in Asia.” MKS 35:101-120.
- Suwilai Premsrirat. (2006). Thailand: Language Situation. Encyclopedia of Language and Linguistics. 2nd Edition. Edited by Keith Brown. Oxford: Elsevier.
- Suwilai Premsrirat. (2005). What is involved in developing writing system for a previously unwritten language? : Developing Chong writing system. Paper presented at Seminar cum “Workshop on Multilingual Education for Bangladesh’s Language Communities”. 5-7 June 2005. Dhaka. Bangladesh.
- Suwilai Premsrirat. (2004). Register complex and tonogenesis in Khmu dialects. MKS 34:1-17.
- Suwilai Premsrirat. (2004). Thesaurus and Dictionary Series of Khmu Dialects in Southeast Asia. Paper presented at “the Lexicography Conference”. Payap University. 24-26 May 2004. Chaing Mai. Thailand.
- Suwilai Premsrirat et al. (2004). “Ethnolinguistic mapping of Thailand and on going language revitalization programs” in Putting Cultural Diversity into Practice: Some Innovative Tools. Asia-Pacific Regional Training Workshop on Culture Mapping and Cultural Diversity Programming Lens to Safeguard Tangible and Intangible Cultural Expressions and Project Cultural Diversity. Training for Asia-Pacific Field Personnel. 15-18 November 2004. UNESCO. Bangkok. Thailand
- Suwilai Premsrirat. (2004). Language Endangerment and Language Revitalization in Thailand : A Case Study of Chong. Endangered Languages of the Pacific Rim. pp.169-179. Lectures on “Endangered Languages: 4-From Kyoto Conference 2001”. 30 November – 2 December 2001. Kyoto. Japan.\
- Suwilai Premsrirat. (2002). Khmu dialects: a case of register complex and tonogenesis. Paper presented at “the International Symposium Cross-linguistic Studies of Tonal Phenomena” . The Research Institute for Languages and Cultures of Asia and Africa (ILCAA). Tokyo Univ. of Foreign Studies. December 17-19. 2002.
- Suwilai Premsrirat and others. (2001). Using GIS for displaying ethnolinguistic maps of Thailand. “Southeast Asian Linguistics Conference SEALS XI Proceeding (keynote speech)”. Bangkok.16-18 May 2001.
ผลงานเด่น ผลงานเด่น ที่ศาสตราจารย์ ดร.สุวิไล เปรมศรีรัตน์ เป็นผู้ริเริ่มโครงการ และดำเนินงานร่วมกับหน่วยงานและชุมชนต่างๆ โดยบูรณาการศาสตร์ทางภาษากับศาสตร์อื่นๆ เพื่อสร้างองค์ความรู้ด้านการศึกษาวิจัยภาษาและชาติพันธุ์ สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ และพัฒนาสังคม มีดังต่อไปนี้ - แผนที่ภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ ในประเทศไทย (Ethnolinguistic Mapping of Thailand) ศึกษาและสำรวจภาษาของกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆ สร้างฐานข้อมูลด้านภาษาและกลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย และแผนที่แสดงความสัมพันธ์เชิงเชื้อสายและเชิงสังคม พร้อมทั้งการกระจายของกลุ่มชาติพันธุ์ภาษาในพื้นที่ต่างๆ ทั่วประเทศ นำไปใช้ในการกำหนดนโยบายและการวางแผนการทำงานในพื้นที่ ที่มีกลุ่มชาติพันธุ์และการวิจัยเชิงลึกต่อไป
- ชุดอภิธานคำศัพท์พจนานุกรมภาษาขมุในเอเชียอาคเนย์ (Thesaurus and Dictionary Series of Khmu Dialects in Southeast Asia) ศึกษาภาษาพูดกลุ่มชาติพันธุ์ขมุ ซึ่งกระจายตัวอยู่ทางตอนเหนือของเอเชียอาคเนย์ ได้แก่ประเทศไทย ลาว เวียดนาม และจีน โดยศึกษาผ่านระบบคำศัพท์ ซึ่งสะท้อนให้เห็นระบบคิด วิถีชีวิตและวิวัฒนาการ การเกิดระบบวรรณยุกต์ของภาษาในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์
- การศึกษาและฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมในภาวะวิกฤต (Documentation and Revitalization of Endangered Languages and Cultures) ศึกษา สำรวจ และบันทึกภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชนต่างๆ ก่อนที่จะสูญสลายไป รวมทั้งร่วมมือกับชุมชนชาติพันธุ์ที่ยังมีศักยภาพ เพื่อฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์โดยผ่านกระบวนการอนุรักษ์และพัฒนาภาษา เช่นการสร้างหรือพัฒนาระบบตัวเขียน วรรณกรรมท้องถิ่น และนำเข้าไปสู้ระบบการศึกษาชุมชน ซึ่งเป็นฐานในการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิต และยังเป็นการสงวนรักษาความหลากหลายของอัตลักษณ์ทางภาษาและวัฒนธรรม โดยร่วมงานกับชุมชนต่างๆ
|
---|