นันทนุช อุดมละมุล

อาจารย์ประจำภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ มีความเชี่ยวชาญและสนใจในประเด็นหลังอาณานิคมศึกษา การปลดแอกสภาวะอาณานิคม ความทรงจำศึกษา นิเวศน์วิจารณ์เชิงวัตถุ และแนวคิดวัตถุนิยมใหม่

348 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

อาจารย์ประจำภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก วรรณคดีอังกฤษและวรรณคดีเปรียบเทียบศึกษา มหาวิทยาลัยวอริค ประเทศอังกฤษ
  • ปริญญาโท ภาษาอังกฤษ (วรรณคดี) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ปริญญาตรี ภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อีเมลnanthanoot.u@ku.th, nanthanoot@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจหลังอาณานิคมศึกษา, การปลดแอกสภาวะอาณานิคม, ความทรงจำศึกษา, นิเวศน์วิจารณ์เชิงวัตถุ, แนวคิดวัตถุนิยมใหม่
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • Nanthanoot Udomlamun. (2023). “From 'Author-Scriptor' to 'Author-Constructor': The Authorial Theory of the 1960s and a Repercussion inContemporary Literature". (จาก“นักประพันธ์-ผู้จาร”สู่ “นักประพันธ์-ผู้ประกอบสร้าง”: ทฤษฎีนักประพันธ์ จากทศวรรษ 1960 และเสียงสะท้อนในวรรณกรรมร่วมสมัย). Journal of Studies in the Field of Humanities. January-June 2023 Vol. 30 No. 1, 101-125.
  • Nanthanoot Udomlamun. (2020). “Migration and Affective Labour inZadie Smith’s “The Embassy of Cambodia” and Haresh Sharma’s Model Citizens”. Journal of Human Sciences. September-December 2020 Vol.21 No. 3, 9-23.
  • Nanthanoot Udomlamun. (2018). From "Global" to "Planetary" :Exploring Gayatri Chakravorty Spivak's Key Critical Concepts in Postcolonialism". (จาก “โลก” สู่ “ดาวเคราะห์”: มโนทัศน์เชิงวิพากษ์ในกรอบแนวคิดหลังอาณานิคมของกายาตรี จักรวรตี สปิวัก). In Visarut Peungsunthara(Ed.), Proceedings of “Introduction to Contemporary Theorists in theHumanities and Social Science" Conference. Thammasat University, 212 - 232.
  • Nanthanoot Udomlamun. (2015). “Diasporic Memory, Commodity, and the Politics of the Gift in Monique Truong’s The Book of Salt, Chiang Mai University Journal of Social Sciences and Humanities. 2.1 (2015), 55-77.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)