กิติมา ขุนทอง

เป็นคนอำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ สนใจประวัติศาสตร์ แต่ได้มาทำงานด้านการพัฒนาในมิติสังคมวิทยาและมนุษยวิทยาที่ภาคอีสาน

137 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • พ.ศ. 2548 - 2553 : ผู้ประสานงานเครือข่ายเยาวชนลุ่มน้ำแม่แมะ-แม่นะ ต.แม่นะ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ โครงการจัดการลุ่มน้ำแม่ปิงตอนบน ต.เชียงดาว จ.เชียงใหม่
  • พ.ศ. 2548 - 2553 :
    • ผู้ช่วยโครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ“การศึกษารูปแบบในการพัฒนายกระดับศักยภาพของสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลในการเข้าไปหนุนเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน ในการบริหารจัดการท้องถิ่น” กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบล พื้นที่อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ (สถาบันพระปกเกล้า)
    • นักวิจัยโครงการถอดองค์ความรู้ท้องถิ่นพื้นที่ลุ่มน้ำแม่ปิงตอนบน (สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้(องค์กรมหาชน) (สบรส.)
    • นักวิจัยโครงการสิทธิชุมชนศึกษา ภาคเหนือ ลุ่มน้ำแม่ปิงตอนบน กรณีศึกษาลุ่มน้ำแม่แมะ-แม่
    • ผู้ช่วยนักวิจัยโครงการศึกษาชุมชนพื้นที่กันชนรอบดอยหลวงเชียงดาว
    • กองเลขา เครือข่ายสมัชชาเหมืองฝาย ภาคเหนือ
    • ผู้ประสานงานเครือข่ายคณะกรรมการลุ่มน้ำแม่แมะ-แม่นะ
  • พ.ศ. 2551 : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ต.สุเทพ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ ผู้ช่วยนักวิจัย โครงการรวบรวมฐานข้อมูลนักมานุษยวิทยา-ภาคเหนือ (ศูนย์มานุษยวิทยาศิรินทร) สิ้นสุดโครงการ
  • พ.ศ. 2552 - 2553 : ผู้ประสานงานโครงการส่งเสริมการเรียนรู้เยาวชนในชุมชนท้องถิ่น 4 ภาคสถาบันเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข (สรส.) กทม.
  • พ.ศ. 2553 - 2555 : นักวิจัย สถาบันพัฒนาท้องถิ่น ภายใต้มูลนิธิพัฒนาศักยภาพชุมชน
  • พ.ศ. 2553 - 2555 : เจ้าหน้าที่จัดการความรู้/เขียนเรื่องเล่า บ.แปลนโมทีฟ จำกัด กทม.
  • พ.ศ. 2555 - 2555 : อาจารย์พิเศษ คณะทันตกรรมชุมชน (1ภาคเรียน) คณะทันตแพทย์ศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2555 - 2557 : ผู้ประสานงานพื้นที่โครงการพัฒนากลไกการสืบทอดวัฒนธรรมในชุมชนกระเหรี่ยงมหาวิทยาลัยเชียง ใหม่
  • พ.ศ. 2555 - 2555 : อาจารย์พิเศษสาขาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (1 ปีการศึกษา) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
  • พ.ศ. 2555 - ปัจจุบัน : อาจารย์ประจำสาขาวิชาการพัฒนาชุมชนมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
ประวัติการศึกษา
  • ศิลปศาสตร์บัณฑิต ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต การพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสาขาวิชาการพัฒนาชุมชน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
อีเมลlovekitima112233@gmaul.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจความยากจน, คติความเชื่อในสังคมไทย, การจัดการทรัพยากร, มานุษยวิทยาเหมืองแร่, มานุษยวิทยาเกลือสินเธาว์, สิทธิชุมชน
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

งานวิจัย

  • 2549 : โครงการการศึกษา องค์ความรู้ชุมชนต้นแบบกรณีพื้นที่ ลุ่มน้ำแม่ปิงตอนบน (เขียนร่วม)
  • 2549 : การจัดการทรัพยากรสัตว์ป่าในป่าชุมชน กรณีศึกษา ป่าชุมชนบ้านแม่คองซ้าย อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ (เขียนร่วม)
  • 2557 : มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร. พลวัตชุมชนผ่านประวัติศาสตร์ว่าด้วยใช้น้ำหนองหาร : กรณีศึกษาหมู่บ้านหนองหอย ต.เชียงเครือ อ.เมือง จ.สกลนคร”
  • 2558 : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ) การศึกษาองค์ความรู้ด้านจัดการป่า และการพัฒนาความหลากหลายทางชีวภาพอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่ป่าต้นน้ำหนองหาร จังหวัดสกลนคร.(งานวิจัยร่วม)
  • 2558 : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ) "กระบวนสร้างธรรมาภิบาลท้องถิ่นเพื่อการเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาชุมชนบ้านโคกกลาง ตำบลจันทร์เพ็ญ อำเภอเต่างอย จังหวัดสกลนคร
  • 2559 : สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.). สถานะภาพและการดำรงอยู่ของ "ความเชื่อเรื่องผี" กับการจัดการทรัพยากรในบริบททุนนิยม กรณีศึกษา ผีที่สัมพันธ์กับเกลือในฐานะสินแร่ใต้ดิน
  • 2560 : USAID Mekong Adaptation and Resilience to Climate Change (USAID Mekong ARCC) กรณีศึกษาบ้านโคกกลาง อำเภอจันทร์เพ็ญ จังหวัดสกลนคร
  • 2562 : IUCN. Climate Change Vulnerability Assessment Kaper Estuary -Laemson Marine National Park -Kraburi Estuary Wetlands,Thailand.
  • 2565 : สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) . ความยากจนข้ามรุ่นในสังคมไทยภายใต้ความท้าทายเชิง โครงสร้าง (งานวิจัยกลุ่ม)
  • 2566 : Greenpeace Thailand.โครงการวิจัย นโยบายทวงคืนผืนป่ากับการผลิตซ้ำความจนเรื้อรัง กรณี ป่าสงวนแห่งชาติดงหมู แปลง 2

หนังสือ

  • องค์ความรู้การจัดการเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 5 เล่ม 5 ตำบล ประกอบด้วย 1) ต.เสริมขวา อ.เสริมงาม จ.ลำปาง 2) ต.แม่นะ อ.เชียงดาว จ.เชียงใหม่ 3) ต.แม่ทา อ.แม่ออน จ.เชียงใหม่ 4) ต.บ้านเนิน อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ 5) ต.บ้านดง อ.ชาติตระการ จ.พิษณุโลก
  • องค์ความรู้ชุมชนต้นแบบกรณีพื้นที่ ลุ่มน้ำแม่ปิงตอนบน (เขียนร่วม)
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)