ประสิทธิ์ ลีปรีชา

ประสิทธิ์ ลีปรีชา สอนและทำวิจัยทางด้านมานุษยวิทยาวัฒนธรรม เน้นด้านชาติพันธุ์สัมพันธ์และความเป็นชนพื้นเมือง ในมิติของการพัฒนา การท่องเที่ยว ศาสนา การศึกษา และสิทธิของความเป็นกลุ่มคนชายขอบในบริบทของรัฐชาติและโลกาภิวัฒน์

1887 views | ชาติพันธุ์


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • 2553 - ปัจจุบัน : อาจารย์ ภาควิชาสังคมศาสตร์กับการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2532 - 2553 : นักวิจัย สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการศึกษา
  • 2544 : ปริญญาเอก สาขา Cultural Anthropology จาก University of Washington, Seattle
  • 2530 : ปริญญาโท สาขาวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล
  • 2529 : ปริญญาตรี รัฐศาสตร์ (บริหารรัฐกิจ) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาสังคมศาสตร์กับการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อีเมลleesia2009@gmail.com, prasit.lee@cmu.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจคนชายขอบ, ชาติพันธุ์สัมพันธ์, ชนพื้นเมือง, มานุษวิทยาวัฒนธรรม
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • 2565 : ชาติพันธุ์สัมพันธ์: การเมืองของความสัมพันธ์และแนวคิดการศึกษา. กรุงเทพฯ: ศูนย์ มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน).
  • 2561 : ชาติพันธุ์สัมพันธ์กับความมั่นคงในพื้นที่ชายแดนภาคเหนือของไทยและลาว. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ ส่งสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.).
  • 2560 : เทพารักษ์ล้านนา: จากหอผีสู่รูปปั้นศาลเจ้าและอนุสาวรีย์. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2560 : “นามสกุลกับกระบวนการทำให้กลายเป็นไทยในกลุ่มชาติพันธุ์บนพื้นที่สูง,” สังคมศาสตร์ 29(1): 85-124.
  • 2559 : “ประวัติศาสตร์ อัตลักษณ์และพื้นที่ทางสังคมของชาวม้งในประเทศจีน,” สังคมศาสตร์ 28(ฉบับพิเศษ: ชาติพันธุ์และการเคลื่อนย้าย: มานุษยวิทยาของนิโคลาส แท็ปป์): 151-181.
  • 2559 : ศิวิไลซ์ข้ามพรมแดน: การเผยแพร่ศาสนาของม้งโปรเตสแตนต์ในเอเชียอาคเนย์. เชียงใหม่: ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ และศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2558 : “ชาติพันธุ์ศึกษาในภาคเหนือของประเทศไทย” ใน รหัสวัฒนธรรม: บททบทวนความเข้าใจว่าด้วย “คนไทย” และสังคมไทย. สุริชัย หวันแก้ว (บรรณาธิการ), หน้า 22-64. เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.
  • 2557 : “บทความปริทรรศน์: กระบวนทัศน์การศึกษาชาติพันธุ์สัมพันธ์,” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง 10(3): 219-242
  • 2557 : ม้งในล้านนา: ประวัติศาสตร์และการอพยพเข้าสู่เมืองเชียงใหม่ (หน้า 510-525) ใน ล้านนาคดีศึกษา. เชียงใหม่:โครงการล้านนาคดีศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2557 : “ศิวิไลซ์ข้ามพรมแดน: การเผยแพร่ศาสนาของม้งโปรเตสแตนต์ในเอเชียอาคเนย์,” สังคมศาสตร์ 26(1): 15-51
  • 2556 : “พหุวัฒนธรรมนิยมจากรากหญ้า: ขบวนการเคลื่อนไหวของเครือข่ายชนเผ่าพื้นเมืองและชาติพันธุ์ในประเทศไทย,” สังคมศาสตร์ 25(2): 59-106.
  • 2555 : (บรรณาธิการ) ทฤษฎีชาติพันธุ์สัมพันธ์: รวมบทความทางทฤษฎีเกี่ยวกับอัตลักษณ์ เชื้อชาติ กลุ่มชาติพันธุ์ การจัดองค์กรความสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ และรัฐประชาชาติ. สุเทพ สุนทรเภสัช (แปล). เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • 2554 : “กลุ่มชาติพันธุ์ม้งในบริบทของรัฐชาติสมัยใหม่” ใน ม้งลาวในประเทศไทย: นโยบายและการดำเนินการของภาครัฐไทย (2518-2552), สุภางค์ จันทวานิช และถวิล เปลี่ยนศรี (บรรณาธิการ), หน้า 1-36. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์,
  • 2551 : “การค้า พื้นที่และอัตลักษณ์ม้งดอยปุย” ใน อำนาจ พื้นที่ และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์: การเมืองวัฒนธรรมของรัฐชาติในสังคมไทย. ยศ สันตสมบัติ (บรรณาธิการ), หน้า 119-169. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
  • 2550 : “ระบบการศึกษาและภาษาในกระบวนการสร้างรัฐชาติไทย,” สังคมศาสตร์(มหาวิทยาลัยเชียงใหม่), 19(1): 276-309.
  • 2548 : ม้ง (แม้ว). บทความเพื่อปรับปรุงสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคเหนือ
  • 2548 : ม้ง: หลากหลายชีวิตจากขุนเขาสู่เมือง. เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2548 : (บรรณาธิการ) วัฒนธรรมการบริโภคและการแพทย์พื้นบ้านกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง. (เสถียร ฉันทะ, ผู้เขียน). เชียงใหม่: สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2547 : “การสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง,” วาทกรรมอัตลักษณ์. หนังสือรวมบทความจากการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 2 เรื่อง ชาติและชาติพันธุ์: วิถีชีวิตและความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในโลกปัจจุบัน, หน้า 31-72. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
  • 2546 : “ความรู้และมายาคติเกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง,” ชาติพันธุ์และมายาคติ. ชูพินิจ เกษมณี และคณะ (บรรณาธิการ), หน้า 23-56. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม.
  • 2546 : “อัตลักษณ์ทางเครือญาติของกลุ่มชาติพันธุ์ม้งท่ามกลางความทันสมัย,” อัตลักษณ์ชาติพันธุ์และความเป็นชายขอบ ปิ่นแก้ว เหลืองอร่ามศรี (บรรณาธิการ), หน้า 203-252. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร.
  • 2545 : “เครือญาติข้ามพรมแดนรัฐชาติ: กรณีกลุ่มชาติพันธุ์ม้ง,” สังคมศาสตร์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่), 15(1): 167-186
  • 2541 : “กลุ่มชาติพันธุ์ม้งกับปัญหายาเสพติด,” สังคมศาสตร์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่), 11(1): 136-165

  • 2023 : “Transnational Indigenism in Southeast Asia,” in Regional Identities in Southeast Asia: Contemporary Challenges, Historical Fractures, Jayeel Cornelio and Volker Grabowsky (eds.), pp: 125-149. Chiang Mai: Silkworm Books.
  • 2021 : “Transnational Hmong Protestant Evangelism in Mainland Southeast Asia” in Ethnicity and Religion in Southwest China, He Ming and David C. Lewis (eds.). London and New York: Routledge. Pp. 96-116.
  • 2020 : “Heroes of the Plain of Jars: Hmong Monuments and Social Memory in Laos and America,” Journal of Mekong Societies 16(3): 44-78.
  • 2019 : “Becoming Indigenous Peoples in Thailand,” Journal of Southeast Asian Studies 50(1): 32-50.
  • 2016 : “Commoditizing His Majesty’s Footprints: Tourism in Highland Ethnic Communities in Northern Thailand” in Tourism and Monarchy in Southeast Asia. Ploysri Porananond and Victor T. King (eds.). Cambridge Scholars Publishing. Pp. 69-88.
  • 2016 : “Divorced Hmong Women in Thailand: Negotiating Cultural Space” in Claiming Place: On the Agency of Hmong Women. Chia Youyee Vang, Faith Nibbs, and Ma Vang (eds.). Minnesota: University of Minnesota Press. Pp. 144-166.
  • 2014 : “Hmong Across Borders or Borders Across Hmong? Social and Political Influences Upon Hmong People,” Hmong Studies Journal 15(2): 1-12.
  • 2014 : “Tourism in Mountainous Communities: The Politics of Ethnic Tourism in Northern Thailand”, in Southeast Asia Mobility Transition: Issues and Trends in Migration and Tourism. Karl Husa, Alexandra Trupp, and Helmut Wohlschlagl (eds.). Vienna: Department of Geography and Regional Research, University of Vienna. Pp. 329-345.
  • 2013 : “The Impossible Sedentism: The Lao Hmong ‘Illegal Immigrants’ in Thailand”, in Mobility and Heritage in Northern Thailand and Laos: Past and Present. Proceedings of the Chiang Mai Conference, 1-2 December 2011. Olivier Evrard, Dominique Guillaud, and Chayan Vaddhanaphuti, eds. Chiang Mai: Good Print. Pp. 185-204.
  • 2011 : “Hmong Ethnic Group in the Context of Modern Nation-State,” in The Laos Hmong in Thailand: State Policies and Operations (1975 – 2009). Supang Chantavanich and Tawin Pleansri, eds. Bangkok: Sriboon Computer-Printing Limited Partnership. Pp. 1-37.
  • 2008 : “The Politics of Ethnic Tourism in Northern Thailand,” in Mekong Tourism: Competitiveness & Opportunities. Andrew Adam and Mingsarn Kaosa-ard, eds. Chiang Mai: Social Research Institute, Chiang Mai University Pp. 223-245.
  • 2008 : “The Role of Media Technology in Reproducing Hmong Ethnic Identity,” Living in a Globalized World: Ethnic Miniorities in the Greater Mekong Subregion, Don McCaskill, Prasit Leepreecha and He Shaoying, eds. Chiang Mai: Mekong Press. Pp. 89-113.
  • 2004 : “Ntoo Xeeb: Cultural Redefinition for Forest Conservation among the Hmong in Thailand,” Hmong/Miao in Asia, Nicholas Tapp, Jean Michaud, Christian Culas and Gary Yia Lee, eds. Chiang Mai: Silkworm Books. Pp. 335-352.
ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
หัวเรื่องหลักชาติพันธุ์
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)