วรุณศิริ พรพจน์ธนมาศ

อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

139 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประวัติการทำงาน

  • อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (ธ.ค. 2564 – ปัจจุบัน)
  • อาจารย์พิเศษ สาขาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารสากล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ (มิ.ย. 2564 – มี.ค. 2565)
  • นักวิจัยร่วม โครงการ “ภูมิทัศน์ภาษาของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีปและการเข้ามาของภาษากลุ่มไท ระยะที่ 1” ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
  • นักวิจัย หน่วยปฏิบัติการวิจัยภาษาศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (มี.ค.– ธ.ค. 2564)
  • นักวิจัยร่วม โครงการ “พจนานุกรมออนไลน์ คาสี-อังกฤษ-ฮินดี-ไทย” ได้รับทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (มี.ค.– ธ.ค. 2564)
  • เลขานุการชุดโครงการวิจัย “ภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคม เพื่อความสัมพันธ์ไทย-อินเดีย” ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับทุนจากสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (2561 – 2564)
  • วิทยากรรับเชิญ วิชากลสัทศาสตร์ (Acoustic Phonetics) ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (3 มี.ค. 2564)
  • ผู้ช่วยสอนประจำกลุ่ม วิชาภาษาทัศนา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้แก่นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต (2559 – 2561)
  • ผู้ช่วยวิจัยภาคสนาม โครงการ “การผลิตและการรับรู้ความก้องและลักษณะน้ำเสียงในภาษาขมุและภาษาเขมรจันทบุรี” ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมกับ The University of Edinburgh และ The University of Ottawa (2560)
  • ผู้ช่วยวิจัยโครงการ การสังเคราะห์และจัดทำข้อเสนอแนะการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยในระดับประถมศึกษา ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (2558 – 2560)
  • ครูสอนพิเศษ วิชาภาษาอังกฤษ (ระดับประถมศึกษาปีที่ 5 และปีที่ 6) บัณฑิตแนะแนว (2557 – 2561)
  • ผู้ช่วยวิจัยโครงการวิจัยหัตถานารีอาเซียน: ผ้าทอมือไท-ลาว และกะเหรี่ยงโป อำเภอบ้านไร่ จังหวัดอุทัยธานี ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับทุนจากมูลนิธิมหาจักรีสิรินธรฯ (2557 – 2558)
  • ผู้ช่วยวิจัยโครงการวิจัยและพัฒนาแบบฝึกอิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ไขปัญหาการอ่านออกเสียงและพูดภาษาไทยไม่ชัด ภาควิชาภาษาศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้รับทุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (2556 – 2558)
  • ครูสอนพิเศษ วิชาภาษาอังกฤษ (ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น) (2554 – 2561)

รางวัลที่ได้รับ

  • นิสิตดีเด่นระดับบัณฑิตศึกษา ประจำปีการศึกษา 2558 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • นิสิตดีเด่นระดับบัณฑิตศึกษา คณะอักษรศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2558 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • นิสิตดีเด่นระดับบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาภาษาศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2558 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • รางวัลเรียนดี ประจำปีการศึกษา 2551 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • รางวัลเรียนดี ประจำปีการศึกษา 2550 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
  • รางวัลเรียนดี ประจำปีการศึกษา 2549 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา

ทุนที่ได้รับ

  • “ทุน 90 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย” กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช รุ่นที่ 34 ครั้งที่ 1/2560
  • ทุนอุดหนุนการศึกษาเฉพาะค่าเล่าเรียนประเภท 60/40 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2556 – 2558)
  • ทุนโครงการแลกเปลี่ยนนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาไทยกับต่างประเทศ (The UMAP scholarship) The University of Waikato, New Zealand (2554) (Linguistics and Applied Linguistics)
  • ทุนเรียนดี (5 G) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ทุนเรียนดี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา
ประวัติการศึกษา
  • อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • บริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการโรงแรมและท่องเที่ยว (เกียรตินิยมอันดับ 1)
ตำแหน่งทางวิชาการอาจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาภาษาอังกฤษและภาษาศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
อีเมลwarunsiri89@gmail.com, warunsiri.p@rumail.ru.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจภาษาศาสตร์ภาคสนาม, สัทวิทยา, วรรณยุกต์, ภาษากลุ่มลาว
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

ผลงาน

  • Pornpottanamas, W. (2023). Classifying “Lao” ethnic languages spoken in Central Thailand using tonal criteria: a case sudy of “Chachoengsao Lao”. MANUSYA: Journal of Humanities (26).
  • Pornpottanamas, W. (2016). “Which dialects of Lao are spoken by the “Lao Wiang” of Tambon Nong Nae, Amphoe Phanom Sarakham, Changwat Chachoengsao.” Paper presented at the 5th ICLS, July 8-10, 2016, Thammasat University, Bangkok.
  • พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, กัญญา วัฒนกุล, ศิริรัตน์ ชูพันธ์ อรรถพลพิพัฒน์, นยา สุจฉายา, นิติพงศ์ พิเชฐพันธุ์, วรุณศิริ พรพจน์ธนมาศ และอธิคม แสงไชย. (2566). แผนการวิจัยและบันทึกภาษาและวัฒนธรรมมอแกลน. โครงการวิจัยเรื่อง “ภูมิทัศน์ภาษาของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีปและการเข้ามาของภาษากลุ่มไท ระยะที่ 1”, ภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมกับมหาวิทยาลัยศิลปากรและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามโครงการขับเคลื่อนการวิจัยและพัฒนาบุคลากรการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564.
  • พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, กัญญา วัฒนกุล, ศิริรัตน์ ชูพันธ์ อรรถพลพิพัฒน์, นยา สุจฉายา, นิติพงศ์ พิเชฐพันธุ์, วรุณศิริ พรพจน์ธนมาศ และอธิคม แสงไชย. (2566). รายงานผลการดำเนินงานโครงการวิจัยเรื่อง “ภูมิทัศน์ภาษาของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นทวีปและการเข้ามาของภาษากลุ่มไท ระยะที่ 1”, ภายใต้บันทึกข้อตกลงความร่วมมือระหว่างสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมกับมหาวิทยาลัยศิลปากรและจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามโครงการขับเคลื่อนการวิจัยและพัฒนาบุคลากรการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564.
  • พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, วรุณศิริ พรพจน์ธนมาศ และแดเนียล ลอส. (2565). พจนานุกรมภาษามอแกลน-ไทย-อังกฤษ ฉบับนำร่อง. กรุงเทพฯ : โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • พิทยาวัฒน์ พิทยาภรณ์, วชิราภรณ์ คลังธนบูรณ์, กิตติพงศ์ บุญเกิด, จิณวัฒน์ แก่นเมือง, วรุณศิริ พรพจน์ธนมาศ, Shailendra Kumar Singh, Madhavendra Prasad Pandey, Saralin Lyngdoh และ Barika Khyriem. (2564). รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการ “พจนานุกรมออนไลน์ คาสี-อังกฤษ-ฮินดี-ไทย”. ชุดโครงการวิจัย “ภาษา ศิลปะ วัฒนธรรม และสังคม เพื่อความสัมพันธ์ไทย-อินเดีย”. สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.
  • วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ, ปะการัง ชื่นจิตร และวรุณศิริ พรพจน์ธนมาศ. (2564). บทวิเคราะห์เชิงวิพากษ์ต่อการอธิบายแรงจูงใจในการทำงานผ่านทฤษฎีความเสมอภาคของ J. Stacy Adams. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 17(3).
ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)