คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง

อาจารย์ประจำภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร เชี่ยวชาญในประเด็น ปรัชญาอินเดีย, ศาสนาฮินดู, วัฒนธรรมอินเดีย, พิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ -ฮินดู, ศาสนากับสังคมปัจจุบัน ประสบการณ์ด้านอื่นๆ คอลัมนิสต์ประจำคอลัมน์ “ผี พราหมณ์ พุทธ” หนังสือพิมพ์มติชนสุดสัปดาห์, กรรมการมูลนิธิวัชรปัญญา ฯลฯ

2566 views


ประวัติการศึกษา

ปริญญาโท : อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต (ปรัชญา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2551)

ปริญญาตรี : ศิลปศาสตรบัณฑิต (การสื่อสารมวลชน) เกียรตินิยม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2547)

ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
อีเมลacharntul@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจปรัชญาอินเดีย, ศาสนาฮินดู, วัฒนธรรมอินเดีย, พิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู, ศาสนากับสังคมปัจจุบัน
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

ตำรา/หนังสือ

  • คมกฤชอุ่ยเต็กเค่ง. (2564). ภารตะ – สยาม ศาสนาต้อง(ไม่)ห้ามเรื่องการเมือง? กรุงเทพฯ : มติชน
  • คมกฤชอุ่ยเต็กเค่ง, วิจักขณ์พานิช, และศิริพจน์เหล่ามานะเจริญ. (2564). ผี พราหมณ์ พุทธ ในศาสนาไทย. กรุงเทพฯ : นาตาแฮก
  • คมกฤชอุ่ยเต็กเค่ง. (2560). ภารตะ – สยาม? ผี พราหมณ์ พุทธ?. กรุงเทพฯ : มติชน
  • คมกฤชอุ่ยเต็กเค่ง.(แปล). (2560). อาตมโพธะ : สี่สิบโศลกพินิจสัจจะของรามนะมหาฤษี. กรุงเทพฯ : ปลากระโดด
  • ศรีหริทาส(นามแฝง). (2552). คเณศวิทยา. นครปฐม:ภาควิชาปรัชญา คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร

บทความวิชาการ

  • คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง. (2559). “เทวี: เทวสตรีในอินเดีย,” ใน พลังผู้หญิง แม่ เมีย และเทพสตรี: ความจริงและภาพแทน, พิพัฒน์ กระแจะจันทร์, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. : 153 – 169.
  • คมกฤชอุ่ยเต็กเค่ง. (2561). “เทวนิยมอินเดีย : เส้นทางและปรากฏการณ์ในสังคมไทย”. Veridian E-Journal, Silpakorn University 11,2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2561) : 1582-1598.
  • คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง. (2561).““อหิงสา” สันติวิธีในกระแสธารภูมิปัญญาอินเดีย”. วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ปีที่ 44 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม - ธันวาคม 2561) : 91 -115.
  • คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง. (2556). “พระพิฆเนศวร์ : การบูชาตามหลักศาสนาฮินดู”. วารสารเมืองโบราณ,39, 1 (2556) : 96-100.
  • คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง. (2551). “Ganesh Chaturthi : คเณศจตุรถี วันเกิดพระคเณศ.” Happen Thai 03 : 14-15.
  • คมกฤช อุ่ยเต็กเค่ง. (2547). “ความเข้าใจเรื่องโยคะ.” ใกล้หมอ 28, 8 : 94-97.

ผลงานสร้างสรรค์

  • ศรีหริทาส(นามแฝง)(แปล). “วิมุกโตทัย : บทสวดสรรเสริญพระศิวะ สันสกฤต –ไทย.” กรุงเทพฯ : มิตรไทย, 2550.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งข้อมูล
คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
http://www.arts.su.ac.th/