ชนกพร ชูติกมลธรรม

อาจารย์ประจำสาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จบการศึกษาระดับสูงสุด Ph.D. in Cultural, Literary and Postcolonial Studies SOAS, UNIVERSITY OF LONDON เชี่ยวชาญและสนใจในประเด็นประวัติศาสตร์วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์สาธารณะ

746 views


ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก : Ph.D. in Cultural, Literary and Postcolonial Studies SOAS, UNIVERSITY OF LONDON (2016)
  • ปริญญาโท : M.A. Cultural Studies GOLDSMITHS, UNIVERSITY OF LONDON (2011)
  • ปริญญาตรี : นิเทศศาสตรบัณฑิต (ภาพยนตร์และภาพนิ่ง) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (พ.ศ. 2552)
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อีเมลchanokpornchuti@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจวัฒนธรรมศึกษา, ประวัติศาสตร์วัฒนธรรม, ประวัติศาสตร์สาธารณะ
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

บทความวิชาการ/บทความวิจัย

  • ชนกพร ชูติกมลธรม. (2566). ว่าด้วยประวัติศาสตร์สาธารณะ: กาเนิด นิยามและข้อถกเถียง. วารสารศิลปศาสตร์, 23 (2), 737–763.
  • ชนกพร ชูติกมลธรม. (2564). ผู้กระทำการ อำนาจ และความเป็นประวัติศาสตร์ในมนุษยสมัย : กรณีศึกษาเรื่องป่าไม้ในสมัยพัฒนาการ (พ.ศ. 2502-2516). ใน เก่งกิจ กิติเรียงลาภ, Anthropocence: บทวิพากษ์มนุษย์และวิกฤตสิ่งแวดล้อมในยุคสมัยแห่งทุน (น.237-280). กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
  • ชนกพร ชูติกมลธรม. (2563). Material Turn ในสาขาประวัติศาสตร์ ทฤษฎี Actor-Network กับแนวคิดวัตถุในฐานะผู้กระทำการทางประวัติศาสตร์. วารสารศิลปศาสตร์, 20 (1), 97–125. .
  • ชนกพร ชูติกมลธรรม. (2562). ประวัติศาสตร์ของความซึมเศร้า จาก Melancholia สู่ Depression. วารสารศิลปศาสตร์, 19 (1), 169-195.
  • Chanokporn Chutikamoltham. (2015). ‘Haunted Thailand: The Village as a Location of Thai Horror’, Plaridel, Vol. 12, No.2, 62-80.
  • Chanokporn Chutikamoltham. (2014). ‘Pleasure of Abjection: Cheap Thai Comics as Cultural Catharsis’, Explorations, Vol. 12, 46-58.


หนังสือ

  • ชนกพร ชูติกมลธรม. (2565). ประวัติศาสตร์ซอมบี้: จากศพคืนชีพด้วยมนตร์ดำสู่สัญลักษณ์แห่งการวิพากษ์ทุนนิยม. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์สยามปริทัศน์.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)