วิจิตร ประพงษ์

อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนใจประเด็นวิชาการเกี่ยวกับเรื่อง Marginalization, Immigration, Social Change & Social Class

1273 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • กรรมการสภาพนักงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • The Franco-Thai Scholarship, to follow the Ph. D. Studies in France. This grant is in collaboration and with the co-financing of three organizations: Chiang Mai University, Embassy of France in Thailand, Campus France Agency.
  • The Thai Government One District One Scholarship (ODOS), to study the bachelor degree in France (including French language preparation).
ประวัติการศึกษา
  • 2017 : Ph.D. (Sociology), Paris Descartes University, France
  • 2011 : Master's Degree (Sociology), Pierre Mendès-France University, France
  • 2009 : Bachelor's Degree (Sociology), Pierre Mendès-France University, France
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อีเมลvijit.p@cmu.ac.th, vijit.praphong@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจMarginalization, Immigration, Clandestinity, French Sociology Theory, Marginality, Social Inequality
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • วิจิตร ประพงษ์. (2564). “แรงงานอารมณ์หนุ่มข้ามชาติ: การต่อรองความเป็นชายและการสั่นคลอนความหมายอาชีพขายบริการทางเพศ”. ใน เสียงที่ไม่ได้ยิน: อารมณ์และความหวังในพื้นที่ความรู้, อานันท์ กาญจนพันธ์, บรรณาธิการ, หน้า 37-103.โครงการการสร้างพื้นที่ความรู้และภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • วิจิตร ประพงษ์. (2563). “ตลาดนี่นี้ใครครอง: การต่อรองพื้นที่สิทธิในตลาดของผู้ค้าเร่ไทใหญ่.” ใน จุดตัดของเรื่อง “ต้องห้าม” ในพื้นที่ความรู้, อานันท์ กาญจนพันธ์, บรรณาธิการ, หน้า 40-99. โครงการการสร้างพื้นที่ความรู้และภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • วิจิตร ประพงษ์ (บรรณาธิการ). (2563). ความ(ไม่)เป็นหญิง ความ(ไม่)เป็นชาย ความ(ไม่)เป็นคน. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • วิจิตร ประพงษ์. (2562). “ชีวิตลับลอบในเมืองใหญ่ ปารีสและเชียงใหม่ในมุมที่เราไม่ค่อยได้เห็น”. ใน หลากชีวิตที่ยังไม่เคยเห็น: นักกีฬาสมัยอยุธยา/เญอะและเครือญาติ/ไทยและไทใหญในสภาวะลับลอบ, วสันต์ ปัญญาแก้ว, บรรณาธิการ, หน้า 209-270. เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
  • วิจิตร ประพงษ์. (2561). “การย้ายถิ่นแบบชั่วคราวแต่ยาวนานของแรงงานไทยแบบผิดกฎหมายในฝรั่งเศส” [Long-Lasting Temporary Migration of Thai Migrant Workers Living Without Residence Permit in France]. พัฒนศาสตร์. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 1 ฉบับที่ 2. หน้า 206-240.
  • Praphong, Vijit. (2017). Le compromis clandestin : la condition des migrants thaïlandais sans autorisation de séjour dans la métropole parisienne [A Clandestine Compromise: The Condition of Thai Migrants Living without Residence Permit in Paris Metropolis]. [PhD Thesis, Paris Descartes & Sorbonne Paris Cité University.
  • วิจิตร ประพงษ์. (2555). “จากปราสาทถึงพุทธศาสนสถาน: วัดไทย ณ กรุงปารีสในสายตาสังคมวิทยา” [From Castle to Buddhist Sanctuary: Thai Temple in Paris through Sociological Perspective]. ยุโรปศึกษา [European Studies]. ศูนย์ยุโรปศึกษาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีที่ 20 ฉบับที่ 1, น. 2-25.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)