พรรณราย ชาญหิรัญ

อาจารย์ประจำภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

395 views


ประวัติการศึกษา
  • 2563 : อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ภาษาไทย) มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • 2551 : อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (ภาษาไทย) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2549 : ศิลปศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • 2548 : อักษรศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย) เกียรตินิยมอันดับสอง มหาวิทยาลัยศิลปากร
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อีเมลfhumprc@ku.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจนิทานและตำนานพื้นบ้าน, วรรณคดีไทย, วรรณคดีกับการเมือง
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • พรรณราย ชาญหิรัญ. (2560). “พระราชหัตถเลขาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระราชทาน แก่พระราชโอรส: วรรณกรรมคำสอนในบริบทการปรับประเทศให้ทันสมัย.” ใน เล่าเรื่องเรื่องเล่า, น.101-126. นัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (จัดพิมพ์เนื่องในการประชุมวิชาการระดับชาติ “เล่าเรื่องเรื่องเล่า” เพื่อเชิดชูเกียรติ รองศาสตราจารย์ ดร.สรณัฐ ไตลังคะ ในวาระเกษียณอายุ 18 กันยายน 2560).
  • พรรณราย ชาญหิรัญ. (2559). “เสด็จประพาสต้น: การบันทึกกิจกรรมพักผ่อนหย่อนใจของชนชั้นนำสยามในสมัยรัชกาลที่ 5.” ไทยศึกษา 12, 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม), น.41-63.
  • พรรณราย ชาญหิรัญ. (2558). “ผู้หญิงในนิราศของพลเรือตรีจวบ หงสกุล.” มนุษยศาสตร์ 22,1 (มกราคม – มิถุนายน), น.52-78.
  • พรรณราย ชาญหิรัญ. (2557-2558). “ความเป็นชายในมัทนะพาธา.” ไทยศึกษา 10, 2 (สิงหาคม– มกราคม), น.155
  • พรรณราย ชาญหิรัญ. (2557). “นิราศของพลเรือตรีจวบ หงสกุล: วรรณกรรมวิพากษ์การทหารยุคทหารนิยม.” ใน จะเก็บเกี่ยวข้าวงามในทุ่งใหม่ ประวัติวรรณกรรมกรรมไทยร่วมสมัยในมุมมองร่วมสมัย, น.75-91. สรณัฐ ไตลังคะและนัทธนัย ประสานนาม, บรรณาธิการ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวรรณคดี และคณะกรรมการฝ่ายวิจัย คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย กระทรวงวัฒนธรรม.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

ศูนย์คติชนวิทยา คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

https://www.arts.chula.ac.th/folklore/