ภิญญพันธุ์ พจนะลาวัณย์

อาจารย์ประจำสาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง

1301 views


ประวัติการศึกษา
  • ปร.ด. (ประวัติศาสตร์), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง
อีเมลwarmraw@hotmail.com
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

ผลงานวิจัย

  • 2560 : ชุดโครงการ "ภูมินาม" สามภาษา : การใช้ภาษาไทย อังกฤษ และจีนบนป้ายชื่อสาธารณะเพื่อการท่องเที่ยว กรณีศึกษา เขตเทศบาลนครลำปาง, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  • 2558 : การศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของ “ผังเมืองลำปาง” สมัยใหม่ (พ.ศ.๒๔๔๒-๒๕๕๗) กรณี เขตผังเมืองรวมจังหวัดลำปาง, คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
  • 2557 : การศึกษาความเปลี่ยนแปลงโลกทัศน์ชาวล้านนาในวรรณกรรม ตั้งแต่ยุคฟื้นฟูล้านนาถึงเหตุการณ์จลาจลไทยใหญ่ (พ.ศ.2325-2445), คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ผลงานวิจัยตีพิมพ์/เผยแพร่

  • 2559 : อำนาจนำของ "สิงห์" : การสร้างพื้นที่ในเขตเมืองของข้าราชการนักปกครอง ส่วนภูมิภาค จากหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สู่ ทศวรรษ 2500, วารสารการบริหารท้องถิ่น, 9: 1 (มกราคม-มีนาคม 2559) [วิทยาลัยการปกครอง ม.ขอนแก่น]
  • 2559 : วงไพบูลย์แห่งลูกเสือและกาชาดไทย การก่อตัวของพลังการเมืองคุณธรรมในทศวรรษ 2500, รัฐศาสตร์สาร, 37 : 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2559) [ม.ธรรมศาสตร์]
  • 2559 : 100 ปี รถไฟสายลำปาง-กรุงเทพฯ ประวัติศาสตร์สังคมบนจุดตัดของความเฟื่องฟูและความเสื่อม, ศิลปวัฒนธรรม, 37: 6 (เมษายน 2559)
  • 2559 : รถไฟและระบบรางกับการเปลี่ยนแปลงผังเมืองลำปาง พ.ศ.2459-สงครามโลกครั้งที่ 2, ร้อยปีเปลี่ยนไปลำปางเปลี่ยนแปลง, ลำปาง : สำนักงานจังหวัดลำปาง สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย, 2559
  • 2559 : แรงงานผี: สภาวะไม่ใช่คนในพื้นที่ทำงาน กรณีศึกษาแม่บ้านและภารโรง, สืบค้นจาก http://prachatai.com/journal/2016/09/68107 (28 กันยายน 2559)
  • 2559 : คนลำปาง ชาติพันธุ์ในชั้นประวัติศาสตร์, (ลำปาง : สำนักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง), 2559
  • 2559 : Philanthropy for Royal Merit: The Making of Cities in Siamese Colonies, a Case Study of Payap Circle 1899-1932, Proceedings of the 24th International Conference of Historians of Asia (IAHA 2016) on Asian History, Culture and Environment: Vernacular and Oriental Paradigms, December 5-9, 2016 at Islamabad, Pakistan
  • 2559 : การศึกษาพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของ ผังเมืองลำปาง สมัยใหม่ (พ.ศ.2442-2557) กรณี เขตผังเมืองรวมจังหวัดลำปาง, หน้าจั่ว ว่าด้วยประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมและสถาปัตยกรรมไทย, 2559
  • 2559 : ทวนกระแสประวัติศาสตร์ลุ่มน้ำวัง : พลวัตของผู้คนลุ่มน้ำวัง สมัยก่อนประวัติศาสตร์-ก่อนการปฏิรูปหัวเมืองลาวเฉียง พ.ศ.2427, (ลำปาง : คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม.ราชภัฏลำปาง), 2559.
  • 2559 : แรงงานใต้พันธนาการในมณฑลพายัพ : ฉากหลังของการก่อสร้างพื้นที่ทางกายภาพ หลังการเลิกทาสและไพร่ในสมัยอาณานิคมสยาม, การเสวนาความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ ของนักศึกษาปริญาเอก สาขาวิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2559, 2 ธันวาคม 2559
  • 2559 : จดหมายเปิดผนึกถึง สำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.) เรื่อง การปิดกั้นการเข้าถึงแหล่งทุนวิจัยของอาจารย์และนักวิจัยมหาวิทยาลัย, http://www.prachatai3.info/journal/2016/12/69404 สืบค้นจาก (26 ธันวาคม 2559) สืบค้นเมื่อ 28 ธันวาคม 2559
  • 2559 : สนามฟุตบอลไทย ปฏิบัติการอํานาจและภูมิศาสตร์การเมือง, ฟุตบอลไทยพรีเมียร์ลีก : ผู้หญิง อำนาจ วัฒนธรรมแฟน และชนชั้นใหม่, กรุงเทพฯ : ศูนย์ศึกษาปัญหาการพนัน คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2559
  • 2557 : พลวัตของความเป็นญี่ปุ่นในฐานะ "พื้นที่ทางวัฒนธรรมญี่ปุ่น" ที่ดำรางอยู่ในสังคมไทยตั้งแต่ ทศวรรษ 2510 - พ.ศ. 2257, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2557 : Constructing a Buddhist maga-church and the development of Buddhist fantasy art-the case of wat Phra Dhammakaya, Paper presented at the 12th International Conference on Thai Studies, University of Sydney, Australia
  • 2557 : พื้นที่ความทรงจำเดือนตุลาในภาคเหนือ ประวัติศาสตร์การเมืองแบบลักปิดลักเปิด, มนุษยศาสตร์สาร, 5:1 [คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่]
  • 2557 : การสร้างพื้นที่เมกกะชาวพุทธและแฟนตาซีของพุทธศิลป์ของวัดพระธรรมกาย, วารสารหน้าจั่ว, 11(2557)[คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ ม.ศิลปากร]
  • 2557 : คนจีนกับบทบาทการสร้าง "พื้นที่เมือง" ในสังคมไทย ทศวรรษ 2490, วารสารวิจัยและสาระสถาปัตยกรรม/การผังเมือง [คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์และการผังเมือง ม.ธรรมศาสตร์] JARS
  • 2556 : การศึกษาวิเคราะห์พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของ "ผังเมืองลำปาง" ในยุคจารีต (พุทธศตวรรษที่ 13 - พ.ศ. 2442) กรณีศึกษา : เขตผังเมืองรวมลำปาง, รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการนเรศวรวิจัย ครั้งที่ 9 ความรู้สู่เชิงพาณิชย์นำเศรษฐกิจไทยก้าวไกลอาเซียนพรรษาฯ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก
  • 2556 : กลุ่มการเมืองเจ้าเจ็ดตนกับความหมายของการสร้างเมืองใหม่ฝั่งใต้ของแม่น้ำวังในพุทธศตวรรษที่ 24, มนุษยศาสตร์สาร, 14:1 (มกราคม - มิถุนายน 2556) : 38 - 63 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

สาขาวิชาสังคมศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง