ผลงานวิชาการที่สำคัญ | ผลงานวิชาการและงานตีพิมพ์ - อลิสา หะสาเมาะ. (2564). โควิด-19 ในมุมมองของนักสังคมวิทยา ตอนที่ 1 “ทําไมนักสังคมวิทยาต้องสนใจโควิด -19”. สืบค้นจาก https://nurmis-center.pn.psu.ac.th/covid19/alisa.php. สืบค้นเมื่อ 11 มกราคม 2564
- สุไฮลา วาเฮง, โนรอัยลา หะยีดอเลาะ และอลิสา หะสาเมาะ. (2564). แนวทางการจัดตั้งกองทุนภัยพิบัติ กรณีศึกษา หมู่ที่ 2 ตําบลบางตา อําเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี. ปริญญาบัณฑิต. ปัตตานี. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
- โศจิรัตน์ เพ็ชรพาน, อลิสา หะสาเมาะ และจิรัชยา เจียวก๊ก. (2563). การศึกษาวิถีชีวิตคนไร้บ้านและแนวทางการช่วยเหลือของศูนย์คุ้มครองคนไร้ที่พึ่งจังหวัดสงขลา. ปริญญาบัณฑิต. ปัตตานี. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
- เบญจมาศ สมบูรณ์, อิลมูนา สาและ, อลิสา หะสาเมาะและสวัสดิ์ ไหลภาภรณ์. (2562). สตรีกับความมั่นคงทางอาหารในการเตรียมความพร้อมรับมือกับภัย พิบัติเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ชุมชนปากบางตวา หมู่ที่ 1 ตําบลบางตวา อําเภอ หนองจิก จังหวัดปัตตานี. ใน งานประชุมวิชาการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคม (CSD สัมพันธ์)ระดับชาติ ครั้งที่ 19 “นวัตกรรมการพัฒนาชุมชนสู่ความยั่งยืน”. วันที่ 27 - 30 มกราคม 2563. หน้า 231-237. ลําปาง : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
- อลิสา หะสาเมาะ. (2563). วันแห่งการ “ขอโทษ” ชนพื้นเมือง: บทเรียนจาก รัฐบาลออสเตรเลียสู่สามจังหวัดชายแดนใต้ของประเทศไทย. RUSAMILAE JOURNAL, 40(3), 43-54.
- จิรัชยา เจียวก๊ก, สวัสดิ์ ไหลภาภรณ์, อับดุลคอลิก อัรรอฮีมีย์, อลิสา หะสาเมาะ, สมฤดี สงวนแก้ว, ปรีดี โชติช่วง และแสงอรุณ นกแอนหมาน. (2562). ภูมิปัญญาของหมอพื้นบ้านในด้านการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคของวัดท่าม่วง อําเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ และสัมมนา เครือข่ายพัฒนาสังคม/ชุมชนภาคใต้ ครั้งที่ 1 “ภาคีเครือข่ายกับการพัฒนาสังคม ที่ยั่งยืน” วันที่ 9 สิงหาคม 2562. หน้า 346-360. ปัตตานี : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
- อลิสา หะสาเมาะ. (2554). ประวัติศาสตร์สังคมหน้าใหม่ของฟาตอนี: เรื่องเล่าจากวงศาคณาญาติ "หะสาเมาะ". รุไบยาต: วารสารวิชาการด้านเอเชียศึกษา. 2(3):474-507; กรกฎาคม-ธันวาคม 2554.
- อลิสา หะสาเมาะ. (2543). “ความสํานึกในเอกลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของชาวไทยมุสลิมในชุมชนรือเสาะ” ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทความหนังสือพิมพ์ออนไลน์ |