ชัยพงษ์ สำเนียง

อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

1822 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • 2565-ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2565-ปัจจุบัน บรรณาธิการวารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2565-ปัจจุบัน ผู้ช่วยคณบดีคณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
ประวัติการศึกษา
  • ปริญญาเอก สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    • วิทยานิพนธ์เรื่อง "พื้นที่การเมืองในชีวิตประจำวันและการต่อรอง ธรรมาภิบาลท้องถิ่น: กรณีศึกษาการจัดการทรัพยากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภาคเหนือ"
  • ปริญญาโท ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ประวัติศาสตร์) ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
    • วิทยานิพนธ์เรื่อง "พลวัตการสร้างและการรับรู้ประวัติศาสตร์เมืองแพร่ พ.ศ. 2445-2549"
  • ปริญญาตรี ศึกษาศาตรบัณฑิต (สังคมศึกษา)
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อีเมลchaipong08@gmail.com, chaipongs@nu.ac.th
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

โครงการวิจัย

  • โครงการ “ความสัมพันธ์ไร้พรมแดน: การจัดการทรัพยากรสองริมฝั่งโขง ของชาวเชียแสน-เชียงของ และต้นผึ้ง-ห้วยทราย” พ.ศ.2555-2556 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) (หัวหน้าโครงการ)
  • โครงการ แรงงานข้ามชาติอัตลักษณ์และสิทธิความเป็นพลเมือง สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. พ.ศ.2556-2557 (หัวหน้าโครงการ)
  • โครงการวิจัย พลวัตการเมืองท้องถิ่นกับการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะที่ดี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ สสส. พ.ศ.2556-2558 (หัวหน้าโครงการ)
  • โครงการวิจัย “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์" ระยะที่ 1 สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ.2558-2560 หัวหน้าโครงการ อ.ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร
  • โครงการวิจัย “ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์" ระยะที่ 2 หัวหน้าโครงการ อ.ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร เป็นหัวหน้าโครงการย่อย “การแปรทุนเศรษฐกิจและวัฒนธรรมให้เป็นทุนการเมืองในภาคเหนือของประเทศไทย (พ.ศ. 2475-2560)” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2560-2562
  • โครงการวิจัย ต่อยอดองค์ความรู้เพื่อใช้ประโยชน์ ปี 2561 อ.ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2561-2562
  • โครงการ ประเมินฯ ชุดวิจัยมุ่งเป้าด้านมนุษยศาสตร์ รศ.ดร.อนุสรณ์ อุณโณ หัวหน้าโครงการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) พ.ศ. 2562-2563
  • โครงการ การเมืองดิจิตอล (digital politics) : การเปลี่ยนภูมิทัศน์ทางการเมืองของคนกลุ่มใหม่ในโลกเสมือน หัวหน้าโครงการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2562-2563
  • โครงการวิจัย บ้าน ญาติ ชาติ: ไตยวน (คนเมือง) พลัดถิ่นกับเรื่องเล่าความเป็นไทยนอกขนบประวัติศาสตร์ หัวหน้าโครงการ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พ.ศ. 2564-2566
  • โครงการการเมืองดิจิทัล : การให้ความหมายต่อประชานิยมและรัฐสวัสดิการในวัฒนธรรมการเมืองของคนชายขอบในเมือง ทุนคณะสังคมศาสตร์ ม.นเรศาวร พ.ศ. 2564-2566
  • โครงการ “ให้มันจบที่รุ่นเรา”: ขบวนการเยาวชนไทยในบริบทสังคมและการเมืองร่วมสมัย (“Let’s Finish It in Our Generation”: Thai Youth Movements in Contemporary Socio-political Contexts) แผนงานคนไทย ๔.๐ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) (พ.ศ.๒๕๖๔-๒๕๖๕) (๑๐ เดือน)
  • โครงการมนุษย์ล่องหนในระบาดวิทยา: "ความเปลือยเปล่า" ของคนชายขอบในเมืองเชียงใหม่ สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พ.ศ. 2564-2566 (เสร็จสิ้นโครงการ)

บทความ

  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2556). พิริยะเทพวงศ์อวตาร : วีรบุรษ กบฏ การประดิษฐ์สร้างตัวตนใหม่ทางประวัติศาสตร์. ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 34 ฉบับที่ 9 หน้า : 114-129
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2557). คนกลุ่มใหม่ในชนบทกับการเมืองท้องถิ่น. วารสารสำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2557) หน้า 127-166
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2558). ชุมชนจินตกรรม/ความชิดเชื้อทางวัฒนธรรม : สิ่งประกอบสร้างของความเป็นชาติ. มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2557) หน้า 138-148. (บทวิจารณ์หนังสือ/บทความปริทัศน์)
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2558). “ประวัติศาสตร์ของ ‘กบฏ’ ‘กบฏ’ ของประวัติศาสตร์” : กบฏเงี้ยวเมืองแพร่. ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 36 ฉบับที่ 9 กรกฎาคม 2558.
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2559). พลวัตไทย ลาว : การสร้างความหมายในทางเชื้อชาติ. ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 37 ฉบับที่ 11 (ก.ย. 2559) หน้า 122-137.
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2559). “การเมืองท้องถิ่นสหสัมพันธ์ของความสัมพันธ์หลายระดับ”. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2559): 106 – 137.
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2560). “พัฒนาการของกลุ่มทุนและเครือข่ายธุรกิจในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2446-ปัจจุบัน” ใน ศุภการ สิริไพศาล และชัยพงษ์ สำเนียง. (บรรณาธิการ). ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์. กรุงเทพฯ : โครงการความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของไทยในปริทรรศน์ประวัติศาสตร์ (สกว.).
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2561). “พัฒนาการของกลุ่มทุนและเครือข่ายธุรกิจในภาคเหนือของประเทศไทย พ.ศ. 2446-ปัจจุบัน”. วารสารไทศึกษา ปีที่ 15 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561)

หนังสือ

  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2564). "กบฏเงี้ยว” การเมืองของความทรงจำ: ประวัติศาสตร์ขบวนการเคลื่อนไหวของ “คนล้านนา”. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน).
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2564). ประวัติศาสตร์เมืองแพร่ : รัฐจารีตสู่การสร้างอาณานิคมภายในภายใต้วาทกรรมรัฐชาติ. พิษณุโลก: ภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2565). เจ้า พ่อค้า ชาวนา นายทุนและเครือข่าย การก่อตัวของกลุ่มทุนในประวัติศาสตร์เศรษฐกิจล้านนา. กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์.
  • ชัยพงษ์ สำเนียง. (2566). การเมือง ความหวัง กับชีวิตประจำวัน การต่อรองของชาวบ้านผู้ประกอบการ. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน).



ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

http://www.socsci.nu.ac.th/