อุดมพร ธีระวิริยะกุล

อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

407 views


ประวัติการศึกษา
  • 2555 : อักษรศาสตรดุษฎีบัณฑิต (อ.ด.) ไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 2542 : ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2539 : ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) ประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อีเมลudomporn74@gmail.com
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

โครงการวิจัย

  • โครงการวิจัยเรื่อง “บทบาทสหกรณ์กับการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน: กรณีศึกษา สหกรณ์ภาคเหนือ ประเทศไทย”, สถาบันพระปกเกล้า, 2560
  • โครงการวิจัยเรื่อง “โครงการศึกษาประวัติศาสตร์ชุมชน: ชุมชนคอนสาร จังหวัดชัยภูมิ” ภายใต้โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พื้นที่เขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ, มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2559
  • นักวิจัยร่วม, รายงานฉบับสมบูรณ์ “การประเมินผลโครงการพัฒนาและรณรงค์การใช้หญ้าแฝกอันเนื่องมาจากพระราชดำริ,” สำนักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ – สำนักงาน กปร., 2559
  • นักวิจัยในโครงการย่อย, โครงการพัฒนาศักยภาพเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเพื่อมุ่งสู่อำเภอสร้างเสริมสุขภาพ (24DHS) อำเภอวชิรบารมี จังหวัดพิจิตร, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ – สสส., 2559)

บทความ

  • Teeraviriyakul, U. 2016. “Bangkok: From an Antique to a Modern City,” pp.119-136. In Sites of Modernity: Asian Cities in the Transitory Moments of Trade, Colonialism, and Nationalism V.1, ed. Wasana Wongsurawat (Berlin, Heidelberg: Springer).
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2559. “แนวคิดการสร้างชาติ: เชื้อชาติ ศาสนาและความเชื่อกับการสร้างอัตลักษณ์ กรณีของอินโดนีเซีย,” น.67-200. บทความนำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการเรื่อง “ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ภาคพื้นสมุทร: ความมั่นคง สังคม และวัฒนธรรม (History of Maritime Southeast Asia: Its Security, Society and Culture), สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี, วันที่ 10-11 มีนาคม 2559.
  • สมลักษณ์ ศรีราม และ อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2559. “สมเด็จฮุน เซนกับการครองอำนาจนำทางการเมืองในกัมพูชา.” วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยแม่โจ้, ปีที่ 4, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม): 94-112. (TCI กลุ่ม 2) *
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2559. “แนวทางการสร้างชาติ: เชื้อชาติ ศาสนา และความเชื่อกับการสร้างอัตลักษณ์: อินโดนีเซีย.” วารสารสมาคมประวัติศาสตร์ฯ, ฉบับที่ 38 (2559): 67-100.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2558. “จาก ‘ประวัติศาสตร์ชาติ’ สู่ ‘ประวัติศาสตร์ประชาคมอาเซียน’: ศึกษากรณีประวัติศาสตร์ไทยในมิติที่มีต่อความสัมพันธ์กับเพื่อนบ้าน.” วารสารมนุษยศาสตร์ ฉบับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง, ปีที 4 ฉบับที่ 2 (2558): 36-51.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2557. “Construction of National Heroes and Heroines in Southeast Asia (การสร้างวีรบุรุษ วีรสตรี และวีรชนของชาติอาเซียน),” น.167-191. บทความนำเสนอผลงานในงานประชุมวิชาการเรื่อง “ไทย-พม่าศึกษาในกรอบประชาคมอาเซียน” จัดโดยมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ร่วมกับมหาวิทยาลัยนเรศวร, 18-19 ธันวาคม พ.ศ.2557.
  • อุดมพร ธีระวิริยะกุล. 2557. “ปริทัศน์หนังสือ Rudolf Mrazek’s A Certain Age: Colonial Jakarta through the Memories of its Intellectuals.” วารสารชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 5 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2557): 135-148.
  • Teeraviriyakul, U. 2014. “Religions and religious movements in nation-making in ASEAN.” ASIA REVIEW (Institute of Asian Studies, Chulalongkorn University), Vol.27, pp. 93-109.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

http://www.socsci.nu.ac.th/