อัญชลี วงศ์วัฒนา
อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาศาสตร์ คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
509 views
ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน | ประวัติการรับราชการ
|
---|---|
ประวัติการศึกษา |
|
ตำแหน่งทางวิชาการ | ศาสตราจารย์ |
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบัน | ภาควิชาภาษาศาสตร์ คติชนวิทยา ปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |
อีเมล | unchalees@nu.ac.th |
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจ | การสอนและวิจัยด้านภาษาศาสตร์ภาษาไทยและภาษาอังกฤษ, การสอนและวิจัยด้านการแปลข้ามภาษา, การสอนและวิจัยด้านภาษาศาสตร์เชิงบูรณาการ (ภาษาศาสตร์และคติชนวิทยา ภาษาศาสตร์เชิงมานุษยวิทยา), การวิจัยด้านการอนุรักษ์และฟื้นฟูภาษาและวัฒนธรรมชาติพันธุ์, การสอนและวิจัยด้านทฤษฎีภาษาศาสตร์ (วากยสัมพันธ์ อรรถศาสตร์ วัจนปฎิบัติศาสตร์ วิทยาภาษาถิ่น จิตวิทยาภาษาศาสตร์) |
CV | ดาวน์โหลด |
ผลงานวิชาการที่สำคัญ | วารสารระดับนานาชาติ Wongwattana, Unchalee. (In press). The story of /mà:k/, from ‘betel nut’ to ‘board game’: A Tai study in cognitive linguistics through compound nouns. Journal of Mekong Society. (SCOPUS Q1) Wongwattana, Unchalee S. (2022). Auto-part terms in Thai: An analysis in cognitive semantics. Manusya: The Journal of Humanities 25(1), 1-25. Brill. (SCOPUS) Saleh, Masvinee and Unchalee Wongwattana. 2019. Linguistic Characteristics of Village Typonyms in Yala Province: An analysis of Functional-Typological Grammar. PSAKU International Journal of Interdisciplinary Research 18(1), 48-61. (Ingenta Connect ฐานข้อมูล ก.พ.อ., Elsevier-Social Science Research Network) Pawestri, Norma and Unchalee Wongwattana. 2018. Ambiguity in Indonesian jokes on the instagram “Dagelan”. Journal of Physics: Conf. Series 1028 (2018) 012174 doi: 10.1088/1742-6596/1028/1/012174. (SCOPUS) วารสารระดับชาติ อัญชลี วงศ์วัฒนา. (2567). ประโยคประธานไร้ตัวตน: หน้าที่และการเข้าใจข้ามภาษาผ่านภาษาศาสตร์และการแปลจากภาษาอังกฤษเป็นไทย. วารสารมนุษยศาสตร์ 21(2). พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร. (TCI 1) อัญชลี วงศ์วัฒนา. (2566). ภูมิปัญญาการประกอบสร้างคำในภาษาชาติพันธุ์ไท: การไล่เหลื่อมของหมวดหมู่ที่ซับซ้อนและทับซ้อน. วารสารศิลปศาสตร์ 23(2). กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (TCI 1) พนิตนันท์ เอี่ยมต่อม และอัญชลี วงศ์วัฒนา. (2566). การแปลชื่อภาพยนตร์จากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย: การศึกษาตามแนวภาษาศาสตร์ปริชาน. วารสารศิลปศาสตร์ 23(1), 416-434. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. วารีรัตน์ สีแดง, อัญชลี วงศ์วัฒนา และพัทชนก กิติกานันท์. (2566). การแปลชื่ออาหารและเครื่องดื่มจากภาษาไทยเป็นภาษาอังกฤษ : กรณีศึกษาในจังหวัดพิษณุโลก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 17(1), 232-253. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. โชติกา เศรษฐธัญการ และอัญชลี วงศ์วัฒนา. (2565). กลวิธีการแปลบทบรรยายใต้ภาพยนตร์. วารสารมนุษยศาสตร์ 19(3), 91-107. พิษณุโลก : มหาวิทยาลัยนเรศวร. หนังสือ/ตำรา อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. 2565. ไวยากรณ์ไทยเชิงสื่อสาร: การวิเคราะห์แนวภาษาศาสตร์หน้าที่นิยมเชิงแบบลักษณ์. พิษณุโลก: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวร. อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. 2561. อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และการสืบสานภาษาชาติพันธุ์ไทใหญ่ภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก: พิษณุโลกดอทคอม. อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. 2560. อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และการสืบสานภาษาชาติพันธุ์ไทครั่งภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก: พิษณุโลกดอทคอม. อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. 2559. อัตลักษณ์ ภูมิปัญญา และการสืบสานภาษาชาติพันธุ์ไทดำภาคเหนือตอนล่าง. พิษณุโลก: พิษณุโลกดอทคอม.
อัญชลี สิงห์น้อย วงศ์วัฒนา. 2557. คำเรียกชื่อพืชแบบพื้นบ้านไทย: การศึกษาเชิงภาษาศาสตร์พฤษศาสตร์ชาติพันธุ์. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. |
---|
ผู้เผยแพร่ | ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) |
---|---|
รูปแบบลิขสิทธิ์ | สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons) |
ผู้จัดทำ | ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) |
ผู้ร่วมงานอื่นๆ | แหล่งอ้างอิงข้อมูล ฐานข้อมูลบุคลากร คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร |