อริยา เศวตามร์

อาจารย์ประจำภาควิชาสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

370 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประวัติการทำงาน

  • พ.ศ.2555-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำภาควิชาสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • พ.ศ.2540-กย. 2555 ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมศาสนาและวัฒนธรรมชุมชน เชียงใหม่
  • พ.ศ.2523-2538 สภาคาทอลิกแห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา กรุงเทพมหานคร

หลักสูตรที่สอน

  • ปรัชญาสตรีนิยม
  • ทฤษฎีสตรีนิยม 1
  • ทฤษฎีสตรีนิยม 2
  • สตรีศึกษาในลักษณะวิธีทฤษฎีวิพากษ์
  • ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับแนวคิดสตรีนิยม
  • ผู้หญิงในมิติทางสังคมและวัฒนธรรม
  • เพศภาวะกับสังคม
  • เพศภาวะกับภาษา
  • เพศภาวะกับศาสนา
ประวัติการศึกษา
  • ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สังคมศาสตร์) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (หลักสูตรนานาชาติ), 2553
  • ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (การพัฒนาสังคม) คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2542
  • ศิลปศาสตรบัณฑิต (ฝรั่งเศส) คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2522
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาสตรีศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อีเมลariya.sv@cmu.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจกลุ่มชาติพันธุ์, ทฤษฎีการพัฒนาชุมชน, สตรีศึกษาและเพศภาวะศึกษา, มานุษยวิทยาศาสนา, ทฤษฎีสังคมวัฒนธรรมร่วมสมัย
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • อริยา เศวตามร์ และคณะ. (2564). ผู้หญิงกับบทบาทในการจัดหาและเตรียมอาหารให้กับผู้สูงอายุในมิติสังคมวัฒนธรรม. สนับสนุนโดยกองทุนพัฒนาวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (อยู่ในระหว่างดำเนินการ).
  • อริยา เศวตามร์ และคณะ. (2564). ผู้หญิงชาติพันธุ์กับการส่งเสริมศักยภาพผู้สูงอายุแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพแบบองค์รวม. สนับสนุนโดยหน่วยสนับสนุนวิชาการรับใช้สังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสำนักงานวิจัยแห่งชาติ (วช.). (อยู่ในระหว่างดำเนินการ).
  • ศิวพร สุกฤตานนท์ และอริยา เศวตามร์. (2563). โอกาสที่เท่าเทียมและเงื่อนไขที่เอื้ออำนวยต่อการส่งเสริมความเสมอภาคระหว่างเพศ ใน ประชาคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระยะที่ 2. ศูนย์สื่อสารองค์กร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 1-141.
  • ยศ สันตสมบัติ, อารตี อยุทธคร และอริยา เศวตามร์. (2562). เครือข่ายข้ามแดนและการสร้างอัตลักษณ์ของชุมชนชาวอินเดียในเชียงใหม่. สนับสนุนโดยมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 1-239.
  • ศิวพร สุกฤตานนท์, อริยา เศวตามร์ และรังสิมา วิวัฒน์วงศ์วนา. (2562). โอกาสที่เท่าเทียมและสิ่งแวดล้อมที่เอื้ออำนวยกับสตรี. ใน ประชาคมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 1-177.
  • อริยา เศวตามร์. (2558). การช่วงชิงพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์และการครอบงำเชิงสัญลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่หงีในบริเวณชุมชนชายแดนไทย-พม่า. สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. หน้า 1-98.
  • อริยา เศวตามร์ และคณะ. (2557). การพนันภาคเหนือตอนบน: การพนันในแนวคิดเศรษฐศาสตร์การเมืองในมุมมองสตรีนิยม สนับสนุนโดยศูนย์วิจัยปัญหาการพนัน. คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. หน้า 1-157.
  • อริยา เศวตามร์ และคณะ (2547). การสื่อสารความหมายการพัฒนาระหว่างชาวบ้าน: กรณีศึกษากองทุนชุมชน “เครือข่ายกองบุญข้าว”. สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.). หน้า 1-278.
  • อริยา เศวตามร์. (2542). การสร้างความหมายเกี่ยวกับชุมชนในกระบวนการผ้าป่าข้าว ภายใต้บริบทของงานพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชนในจังหวัดพะเยา. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. หน้า 1-166.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

เว็บไซต์ข้อมูลคณาจารย์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

https://www.soc.cmu.ac.th/professor_new