ทวีศักดิ์ เผือกสม

อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความสนใจในประเด็นเกี่ยวกับอินโดนีเซียศึกษา ประวัติศาตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประวัติศาสตร์การแพทย์ ประวัติศาสตร์ภูมิปัญญา ผลงานสำคัญ อาทิ เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ ในสังคมไทย, ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย: รัฐจารีตในหมู่เกาะ ความเป็นสมัยใหม่แบบอาณานิคม และสาธารณรัฐแห่งความหลากหลาย

1760 views


ประวัติการศึกษา

2532-2535 ปริญญาตรี วารสารศาสตรบัณฑิต, หนังสือพิมพ์และสิ่งพิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ไทย

2537-2540 ปริญญาโท อักษรศาสตรมหาบัณฑิต, ประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ไทย

2004-2008 ปริญญาเอก Doctor of Philosophy, Southeast Asian Studies National University of Singapore, สิงคโปร์

2539-2539 Certificate Postgrauate Diploma, International Relations and Development Institute of Social Studies, Netherlands

ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อีเมลdavisakd.puaksom@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
  • 2563 ทวีศักดิ์ เผือกสม, กฤชกร กอกเผือก และสถาปนา เชิงจอหอ, "บทนำ-อ่านแล้วโปรดลืม: วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์," 3-45, ใน วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์, บก. ชนิดา พรหมพยัคฆ์ และณัฏฐพงษ์ สกุลเลี่ยว (กรุงเทพฯ: สยามปริทัศน์, 2563).
  • 2563 ทวีศักดิ์ เผือกสม (บรรณาธิการ), โครงการวิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์ (หนังสือประมวลบทความในการประชุมวิชาการเพื่อเผยแพร่ผลงานสู่สาธารณชน, โดยการสนับสนุนของชุดโครงการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย, สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.)
  • 2563 (หัวหน้าโครงการ) ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “ท่องไปบนดวงดาว ก้าวลงบนดวงจันทร์: ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ในสังคมไทย” โดยทุนสนับสนุนของหน่วยบริหารและจัดการทุนด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค.) และ สำนักงานสภาน
  • 2562 (หัวหน้าโครงการ) ชุดโครงการวิจัยเรื่อง “วิธีวิทยาในการศึกษาประวัติศาสตร์” โดยทุนสนับสนุนของฝ่ายเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย สกว. ประจำปีงบประมาณ 2562, ระยะเวลา 1 ปี 6 เดือน (มีนาคม 2562 – สิงหาคม 2563).
  • 2561 ทวีศักดิ์ เผือกสม, หยดเลือด จารึก และแท่นพิมพ์: ว่าด้วยความรู้/ความจริงของชนชั้นนำสยาม (กรุงเทพฯ: Illumination Editions, 2561).
  • 2561 ทวีศักดิ์ เผือกสม (บรรณาธิการ), ปัญญาชน ศีลธรรม และสภาวะสมัยใหม่: เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เคล็ดไทย, โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2561).
  • 2561 ทวีศักดิ์ เผือกสม, เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: Illumination Editions, 2561).
  • 2560 วีรบุรุษไพร่แดง: กำเนิดรัฐมุสลิมชวา สภานักบุญ และผู้มีกำเนิดจากไส้เดือนดิน (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ยิปซี, 2560).
  • 2560 Davisakd Puaksom, “Review: Siam’s New Detectives: Visualizing Crime and Conspiracy in Modern Thailand, by Samson Lim (Honolulu: University of Hawaii Press, 2016).” Technology and Culture, Vol.58, No.3 (July 2017): 883-4.
  • 2560 วงศาวิทยาของอิเหนา: ปัญหาเรื่องลิ้น ความลื่นไหลของสัญญะ และการสืบหาอารยธรรมปันหยี (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ยิปซี, 2560).
  • 2559 เรย์นัลโด อิเลโต้: ว่าด้วยคนชั้นล่าง ประวัติศาสตร์ชาติ และความรู้แบบอาณานิคม (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมมติ, 2559).
  • 2559 เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2 (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์พารากราฟ, 2559).
  • 2558 “A Promise of Desire: On the Politics of Health Care and Moral Discourse in Thailand, 1950-2010,” in Public Health and National Reconstructions in Post-War Asia: International Influences, Local Transformations, edited by Liping Bu and Ka-che Yip (London a
  • 2558 “ภูมิทัศน์ประวัติศาสตร์การแพทย์และการแพทย์พื้นบ้านในอินโดนีเซีย,” น.35-66, ใน วัฒนธรรมสุขภาพในสังคมอาเซียน, บก. โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคณะ (นนทบุรี: สุขศาลา, สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.), 2558).
  • 2558 (หัวหน้าโครงการ) “โครงการสัมมนาระดับชาติ เวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ครั้งที่ 9 เรื่อง “ปัญญาชน ศีลธรรมและสภาวะสมัยใหม่: เสียงมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้,” 27-28 สิงหาคม 2558 ณ มหาวิทยาลัยนเรศวร, พิษณุโลก (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - สกว.)
  • 2558 “บทสวดมหาการุณกับการปฏิวัติฟิลิปปินส์: ประวัติศาสตร์จากมุมมองของคนชั้นล่างของเรย์ อิเลโต้,” ชุมทางอินโดจีน: เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ปริทัศน์, ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 (มิถุนายน-ธันวาคม 2558): 243-262.
  • 2558 “Review: Cleanliness and culture: Indonesian histories, Edited by Kees van Dijk and Jean Gelman Taylor (KITLV Press, 2011); Consoling ghosts: Stories of medicine and mourning from Southeast Asians in exile, By Jean M. Langford (University of Minnesota Pre
  • 2557 “คำสัญญาของความปรารถนา: การเมืองว่าด้วยเรื่องการดูแลรักษาสุขภาพกับวาทกรรมของศีลธรรมในช่วง 2490-2550,” แปลโดยจีรพล เกตุจุมพล, ฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 12 ฉบับที่ 2-3 (พฤษภาคม-ธันวาคม 2557).
  • 2556 (หัวหน้าชุดโครงการ) “ภูมิทัศน์ทางปัญญาแห่งประชาคมอาเซียน: เรียนรู้เพื่อร่วมเดินไปข้างหน้าด้วยกัน” (สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - สกว.)
  • 2555 ประวัติศาสตร์อินโดนีเซีย: รัฐจารีตในหมู่เกาะ ความเป็นสมัยใหม่แบบอาณานิคม และสาธารณรัฐแห่งความหลากหลาย (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2555).
  • 2555 “ท้องถิ่นศึกษา-ชุมทางศึกษาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา,” น. 172-193, ประวัติศาสตร์นอกขนบ, บรรณาธิการโดย อภิราดี จันทร์แสง (คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2555).
  • 2554 “Review: Claudia Merli’s Bodily practices and medical identities in southern Thailand (Uppsala: Uppsala Studies in Cultural Anthropology no.43, Acta Universitatis Uppsala, 2008),” Journal of Southeast Asian Studies, Vol.44, No.2 (2011): 368-370.
  • 2553 (หัวหน้าโครงการ) “สภาวะความเป็นสมัยใหม่อันแตกกระจาย: การค้นหาประวัติศาสตร์ สังคม-วัฒนธรรมของปาตานี (Fragmented Modernities: The Quest for a Social and Cultural History of Patani)” (ภายใต้การสนับสนุนของมูลนิธิเอเชีย-Asia Foundation)
  • 2553 (หัวหน้าโครงการ) “การทำอิสลามให้เป็นชวา” (รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ภายใต้ชุด โครงการ “ความสัมพันธ์ไทยกับโลกอิสลามในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” โดยการสนับสนุน ของสำนักวิจัยแห่งชาติ (วช.), สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2553).
  • 2553 บก., ศรีวิชัย เครือข่ายการค้า และวีรบุรุษ: อินโดนีเซียศึกษาในประเทศไทย (นครศรีธรรมราช: หน่วยวิจัยภูมิภาคศึกษา ร่วมกับ
  • 2553 (หัวหน้าโครงการ) “โครงการจัดทำพจนานุกรมภาษาอินโดนีเซีย-ไทยฉบับสมบูรณ์, พจนานุกรมภาษาไทย-อินโดนีเซียฉบับสมบูรณ์ และพจนานุกรมภาษาอินโดนีเซีย-ไทย กับภาษาไทย-อินโดนีเซียฉบับพกพา” (โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย - สกว.)
  • 2553 “Southeast Asian Studies from a Local Perspective: an Introduction,” ศรีวิชัย เครือข่ายการค้า และวีรบุรุษ: อินโดนีเซียศึกษาในประเทศไทย, บรรณาธิการโดย ทวีศักดิ์ เผือกสม และธนภาษ เดชพาวุฒิกุล (นครศรีธรรมราช: โครงการภูมิภาคศึกษา, รุไบยาต ฉบับพิเศษ, 2553).
  • 2552 บก., สาธารณสุขชุมชน: ประวัติศาสตร์และความทรงจำ (นนทบุรี: หอจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์ระบบสุขภาพไทย, สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ (สวสส.), 2552).
  • 2552 “เชื้อโรค การเดินทาง และ ‘ซิวิไลยนาแฉน’," วารสารมหาวิทยาลัย ศิลปากร, ปีที่ 28 ฉบับที่ 1-2 (2551): 134-185.
  • 2552 “รูปเงาบนแผ่นดินชวาและวาลีทั้งเก้า," รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์), ปีที่ 30 ฉบับฉบับพิเศษ เล่มที่ 1 (2552): 118-181.
  • 2551 "Of a Lesser Brilliance: Patani Historiography in Contention," in Thai South and Malay North: Ethnic Interactions on a Plural Peninsular, edited by Michael J. Montesano and Patrick Jory (Singapore: NUS Press, 2008).
  • 2551 (หัวหน้าโครงการ) “โครงการประชุมสัมมนานานาชาติเรื่อง ภาพหลอกหลอน ณ ชาย แดนใต้ของไทย: การเขียนประวัติศาสตร์ปาตานีและโลกอิสลาม” (The Phantasm in Southern Thailand: History Writings on Patani and Islamic World), 11-12 ธันวาคม 2552 ณ อาคารมหาจุฬาลงกรณ์ คณะอัก
  • 2551 (แปลร่วมกับชนิดา เผือกสม) ความแค้นและความสมาน ฉันท์: การทำ ความเข้าใจประวัติศาสตร์เอเชียใต้ ของราชโมฮัน คานธี (กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ, 2551).
  • 2550 เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม: ประวัติศาสตร์การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550).
  • 2550 "Of Germs, Public Hygiene, and the Healthy Body: the Making of the Medicalizing State in Thailand," The Journal of Asian Studies, Vol.66, No.2 (May 2007): 311-344.
  • 2549 (ร่วมกับจิรวัฒน์ แสงทอง), “ความหลากหลายที่หายไป: บทวิจารณ์รายงาน คณะกรรมการอิสระเพื่อความสมานฉันท์แห่งชาติ (กอส.),” วารสารฟ้าเดียวกัน, ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2549): 112-120.
  • 2547 อินโดนีเซียรายา: รัฐจารีต สู่ "ชาติ" ในจินตนาการ (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ, 2547).
  • 2546 คนแปลกหน้านานาชาติของกรุงสยาม (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มติชน, 2546).
  • 2546 “ชาติพันธุ์วรรณาในจารึกวัดพระเชตุพนฯ ที่ศิลามหาวิทยาลัย University in Stone,” ศิลปวัฒนธรรม ปีที่ 24 ฉบับที่ 5 (มีนาคม 2546): 90-115.
  • 2546 , “รัฐเวชกรรม: จากโรงพยาบาลสู่โครงการสาธารณสุขมูลฐาน,” รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 (2546): 204-245.
  • 2545 (หัวหน้าโครงการ) “การแพทย์สมัยใหม่ในสังคมไทย: เชื้อโรค ร่างกาย และรัฐเวชกรรม” (รายงานการวิจัยในโครงการภูมิปัญญาทักษิณ โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย (สกว.), 2545).
  • 2544 “ชาติพันธุ์วรรณาในจารึกวัดพระเชตุพนฯ: บูรพาคดีศึกษา, ภาพตัวแทนของความรู้และ การเขียนตะวันตกของไทย,” รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), ปีที่ 23 ฉบับที่ 1 (2544): 28-92.
  • 2543 “วาทกรรมการแพทย์สมัยใหม่ของตะวันตก กับการปกครองของ รัฐไทย: ข้อสังเกต เบื้องต้น,” วารสารธรรมศาสตร์, ปีที่ 26 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2543): 73-93.
  • 2541 “การทำตะวันตกให้เป็นตะวันออกของสยาม: การตอบโต้รับมือกับวาท กรรมความเป็นอื่น ของมิชชั่นนารีตะวันตกโดยปัญญาชนสยามในช่วงต้นศตวรรษที่ 19,” รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 (2541): 253-313.
  • 2540 “สื่อมวลชนในฐานะเครื่องมือกลไกของอำนาจทางการเมือง: ศึกษา เฉพาะงานเขียนของ บุญรักษ์ บุญญะเขตมาลา,” รัฐศาสตร์สาร (มหาวิทยาลัยธรรม ศาสตร์), ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 (2540): 111-134.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)