ขวัญชีวัน บัวแดง

อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ สนใจการศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนาบนพื้นที่สูง ขบวนการเคลื่อนไหวทางศาสนา แรงงานข้ามชาติ นโยบายรัฐชาติต่อชนกลุ่มน้อย ฯลฯ

2047 views | ชาติพันธุ์


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • มิถุนายน 2559 - ปัจจุบัน
    • รองศาสตรจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • มิถุนายน 2556 - มิถุนายน 2559
    • ผู้ช่วยศาสตรจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • ตุลาคม 2550 - มิถุนายน 2556
    • อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2537-2550
    • นักวิจัยประจำสถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการศึกษา
  • 2544 - ปริญญาเอก (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยซิดนีย์, ออสเตรเลีย
  • 2531 - ปริญญาโท (มานุษยวิทยา) Ateneo de Manila University, ฟิลิปปินส์
  • 2526 - ศิลปศาสตร์บัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2518 - ปก.ศ.สูง วิทยาลัยครูเชียงใหม่
ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
อีเมลkwanchewan.buadaeng@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจกลุ่มชาติพันธุ์, ขบวนการเคลื่อนไหวทางศาสนา, แรงงานข้ามชาติ, นโยบายรัฐชาติต่อชนกลุ่มน้อย
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

2020

  • “Book review: Pwo Karen in Focus: Photographs, field notes and memoirs, Dong Luang, 1960s North Thailand by Elizabeth Hinton,” Journal of Siam Society. 108(1) 2020. Pp. 160-162.
  • ความมั่นคงของมนุษย์ชายแดนลาว-ไทย-เมียนมาในบริบทการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ. เชียงราย: ศูนย์ประสานงานเครือข่ายมหาวิทยาลัยไทยด้านชายแดนศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) (50 หน้า)
  • “Karen Ethnic Armed Groups, Economic Development, and Peace on the Thailand-Myanmar Frontier,” Taiwan Journal of Southeast Asia Studies. 15(1). Pp. 7-32.
  • ศาสนาในประชาคมอาเซียน: ความขัดแย้ง นโยบายและแนวทางการปฏิบัติ. รายงานการวิจัยนำเสนอต่อสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย(สกว.) (เขียนร่วมกับประสิทธิ์ ลีปรีชา). (195 หน้า)

2021

  • องค์กรติดอาวุธกะเหรี่ยง: การสร้างสันติภาพและการพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนไทย-เมียนมา. เชียงใหม่: คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 200 หน้า

2022

  • "COVID-19 Pandemic in Thailand: Sovereign Power over Life and Death," a paper presented at AA forum, Research Institute for Languages and Cultures of Asia and Africa of Tokyo University of Foreign Studies, January 20, 2022
  • บทปริทัศน์หนังสือ: “จุดตัดของเรื่อง “ต้องห้าม”ในพื้นที่ความรู้ โดย อานันท์ กาญจนพันธุ์. (บก.)” วารสารมานุษยวิทยา. 4(1)(2564) ตีพิมพ์วันที่ 23 มิถุนายน 2564. (หน้า 211-214)
  • “Views from the Ground: Reflections on Studying Indigeneity in Southeast Asia,”(together with Rusaslina Idrus, Liana Chua, Poline Bala, Kelvin Egay, Prasit Leepreecha, Dave Lumenta, Zanisah Man, Kendy Mitot, Oona Paredes, Shanthi Thambiah, Vilashini Somiah), Sojourn: Journal of Social Issues in Southeast Asia. ISEAS–Yusof Ishak Institute. 37(1), March 2022. Pp. 113-127.
  • “สปท.ในกระแสธารแห่งการปฏิวัติ” ใน กลุ่มเพื่อนสปท. ที่นี่..สถานีวิทยุเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย หน้า 109-147. (ส.พายุ (นามแฝง))

2023

  • “Christian Missions and the Reconstruction of Identities: The Talaku Karen on the Thailand-Myanmar Borderland” in Jayeel Cornelio and Volker Grabowsky eds. Regional Identities in Southeast Asia: Contemporary Challenges, Historical Fractures. Chiang Mai: Silkworm Books. Pp. 225-245.
  • “บรรณาธิการแถลง,” และ “กำเนิดศูนย์กลางนักศึกษาภาคเหนือและโครงงานชาวนา” ใน อดีตผู้ปฏิบัติงานโครงงานชาวนา. ให้เรื่องเล่าของเราเป็นตำนาน: การต่อสู้ของขบวนการนักเรียนนักศึกษาและชาวนาชาวไร่ภาคเหนือ พ.ศ. 2516-2525. กรุงเทพฯ: เอเชียดิจิตอลการพิมพ์ จำกัด. หน้า 1-9 และ 35-58.

2024

  • “สภาวะรวมตัว (assemblage) ในการศึกษาพื้นที่ศาสนา” ใน นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ และวิสุทธิ์ เวชวราภรณ์ บก. ชีวิตภาคสนาม. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. หน้า. 321-326.
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
หัวเรื่องหลักชาติพันธุ์
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)