ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ

นักวิชาการประจำศูนย์พัฒนาความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์แห่งชาติ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ (อพวช.) เผยแพร่ความรู้ผ่านกิจกรรม นิทรรศการ สื่อออนไลน์ และสิ่งพิมพ์ รวมถึงพัฒนาหลักสูตรการอบรมวิชาชีพด้านงานพิพิธภัณฑ์และ การศึกษาในพิพิธภัณฑ์

2140 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

มิถุนายน 2544 – ธันวาคม 2546

  • สถาบันพระปกเกล้า นักวิชาการประจําพิพิธภัณฑ์พระบามสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

กุมภาพันธ์ 2547 - เมษายน 2553

นักวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

  • วิจัยโครงการวิจัยและพัฒนาพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นในประเทศไทย
  • พัฒนาฐานข้อมูลและจัดเวที่อบรม ภาพยนตร์ชาติพันธุ์
  • จัดนิทรรศการชั่วคราวและถาวร เช่น พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผาในประเทศไทย เสียงพิพิธภัณฑ์ มอแก
  • ประสานงานวิชาการกับองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สถาบันสมิธ โซเนียน สหรัฐอเมริกา, สถาบันเกอเธ่ กรุงเทพฯ, สถาบัน ภาพยนตร์วิชาการ เยอรมนี

สิงหาคม 2553 - กันยายน 2554

  • โครงการจดหมายเหตุดิจิทัลที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย ภายใต้ความร่วมมือ มหาวิทยาลัยวอชิงตัน สหรัฐอเมริกา และศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) ประเทศไทย

ตุลาคม 2556 - กันยายน 2557

  • เจ้าหน้าที่วิจัยโครงการศึกษาและพัฒนาสื่อเกี่ยวกับ “คนทําพิพิธภัณฑ์” ศูนย์มานุษยวิทยา สิรินธร (องค์การมหาชน)
  • เจ้าหน้าที่วิจัย โครงการจดหมายเหตุมานุษยวิทยา ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การ มหาชน)

เมษายน - กันยายน 2557

  • โครงการวิจัยรูปแบบและแนวโน้มของพิพิธภัณฑ์ชั้นนําในเอเชียอีกหนึ่ง ทศวรรษหน้า หัวข้อการออกแบบและการจัดนิทรรศการ สถาบันพิพิธภัณฑ์ การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)
  • ทุนวิจัยการศึกษาการออกแบบพิพิธภัณฑ์และสื่อการเรียนรู้ในนิทรรศการ กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ์ในประเทศสิงคโปร์, ญี่ปุ่น, เกาหลี และ ไต้หวัน

มกราคม - กันยายน 2558

  • โครงการ รวบรวมเรียบเรียงความรู้: หัวข้อปฏิบัติการพิพิธภัณฑ์ร่วมสมัย (Updating Museum Practices) สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)

ธันวาคม 2557 - มีนาคม 2559

  • ร่วมปฏิบัติการจัดการเอกสารจดหมายเหตุ จัดเรียงและจัดทําเครื่องมือช่วยค้นเอกสารจดหมายเหตุส่วนบุคคล ชุดอาจารย์ปรีดี – ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ หอจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

มิถุนายน 2545 – มีนาคม 2559

  • ·อาจารย์พิเศษ พิพิธภัณฑสถานศึกษาและจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยมหิดล, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

มิถุนายน 2558 - ธันวาคม 2559

  • โครงการศูนย์เรียนรู้สุขภาวะ ภูมิภาค (สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้าง เสริมสุขภาพ) บริษัทรักลูก ดิสคัฟเวอรี่ เลิร์นนิ่ง จํากัด

ตุลาคม 2559-กันยายน 2560

  • วิจัยพิพิธภัณฑ์บ้านประวัติศาสตร์ และจัดพิมพ์เป็นหนังสือ “ พิพิธภัณฑ์บ้าน : คุณค่าและความหลากหลาย” กรุงเทพ : ศูนย์ มานุษยวิทยาสิรินธร, 2561

ตุลาคม 2554 - กันยายน 2556

  • โครงการโรงเรียนภาคสนาม มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมและพิพิธภัณฑ์ (Intangible Cultural Heritage and Museums Field School) ศูนย์ มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

พฤศจิกายน 2558 - มิถุนายน 2559

  • โครงการสํารวจองค์ความรู้มรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

มิถุนายน 2562 - ปัจจุบัน

  • นักวิชาการ ศูนย์พัฒนาความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์แห่งชาติ องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ(อพวช.)
ประวัติการศึกษา

2542 - 2543 Université de Lyon II, France Maltrise d'ethnologie (avec mention bien)

2536 - 2540 ศิลปศาสตรบัณฑิต (มานุษยวิทยา) เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง มหาวิทยาลัยศิลปากร

หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันองค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจพิพิธภัณฑ์, จดหมายเหตุ
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ
งานวิชาการตีพิมพ์
หนังสือ
  • บรรณาธิการ “การศึกษาในพิพิธภัณฑ์ไรก้ ำแพง” กรุงเทพ : สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ, 2561.
  • บรรณาธิการ “พิพิธภัณฑ์บ้าน : คุณค่าและความหลากหลาย” กรุงเทพ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2561.
  • บรรณาธิการ “การจัดการข้อมูลงานวิจัยในยุคดจิ ิทัล” กรุงเทพ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร, 2560.
  • “นิทรรศการในกระบวนการ : ‘พม่าระยะประชิด’ สื่อเพื่อส่งเสริมบทสนทนาระหวา่ งวัฒนธรรม.” กรุงเทพ :สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติม 2560. “
  • ปฏิบัติการพิพิธภัณฑ์: บทเรียนจากคนอนื่ ” กรุงเทพ : สถาบันพิพิธภณั ฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ, 2559.
  • บรรณาธิการ “คนทำพิพิธภัณฑ์” กรุงเทพ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2557.
  • บรรณาธิการ “คน-ของ-ท้องถิ่น เรื่องเล่าสยามใหม่จากมุมมองชุมชน” กรุงเทพ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2555.
  • บรรณาธิการ “พิพิธภัณฑ์สิงคโปร์” กรุงเทพ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2553.
  • บรรณาธิการ “หนังใหญ่วัดบ้านดอน” กรุงเทพ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2549.
  • บรรณาธิการ จดหมายข่าวสมาคมจดหมายเหตุสยาม ฉบับที่ 4-6, 2550-2553.
  • บรรณาธิการ จุลสารก้าวไปด้วยกัน เพื่อชุมชนพิพิธภัณฑ์ กรุงเทพ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน), 2547-2549.
บทความ
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “พิพิธภัณฑ์ชาติพันธุ์ส่วนนอ้ ยกับนิยามความเป็นมาเลย์ กรณีศูนย์มรดกวัฒนธรรมมาเลย็ สิงคโปร์,” พิพิธภัณฑ์และมรดกวัฒนธรรม รวมบทความคัดสรรจากโครงการประชุมวิชาการพิพิธภัณฑ์และ มรดกวัฒนธรรม ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน), 2563.
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “การก่อรูปและการเปลี่ยนแปลงความหมายของพิพิธภัณฑสถาน: พิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติสิงคโปร์ จากยุคอาณานิคมสู่การสร้างชาติ,” วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, ปีที่ 38, ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2562), หน้า 51-81.
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “บทเรียนพลเมือง ณ ศูนย์เรียนรู้สิงคโปร์ (S’pore Discovery Centre)”, ใน ปัญญาชน ศีลธรรม และสภาวะสมัยใหม่ : เสียงของมนุษยศาสตร์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มทางอินโดจีน, รวมบทความ จากการประชุมเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ ครั้งที่ 9, ทวีศักดิ์ เผือกสม (บรรณาธิการ). กรุงเทพ : สำนักพิมพ์ศยาม, 2561 (221-258).
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “การเมืองและโวหารของการจัดแสดง กรณีสิงคโปร์” ใน ศรยุทธ เอี่ยมเอื้อยุทธ, ข้าม ขอบฟ้าความคิด, เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2560.
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “การแทนที่ควรทรงจำ กรณีพิพิธภัณฑ์รัฟเฟิลส์ สมัยอาณานิคมและพิพิธภัณฑสถาน แห่งชาติ สิงคโปร์หลักเอกราช”, การประชุมวิชาการระดับชาติ เครือข่ายประวัติศาสตร์ มานุษยวิทยาและสังคม วิทยาภาคใต้ครั้งที่ 2, วันที่ 25-27 สิงหาคม 2559 ณ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี.
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “เอกลักษณ์เกอบาญา (kebaya) ในวัฒนธรรมร่วมจากภูเก็ตถึงสิงคโปร์,” วารสาร วัฒนธรรมปีที่ 54 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2558), หน้า 50-57.
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “การเมืองเรื่องย่านประวัติศาสตร์ในสิงคโปร์,” วารสารหน้าจั่ว ปีที่ 11 (กนั ยายน 2557สิงหาคม 2558), หน้า 130-151.
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “ ‘มรดกเพิ่งสร้าง’: เมืองและย่านประวัติศาสตร์ในมะละกาและปีนัง,” วารสารดำรง วิชาการ ปีที่ 13, ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม – ธันวาคม 2557), หน้า 39-74. ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “พื้นที่ของความเก่ากับเรื่องเล่าของคนอยู่,” วารสารเมืองโบราณ ปีที่ 39 ฉบับที่ 2 (เมษายน - มิถุนายน 2556), หน้า 115-126.
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “พิพิธภัณฑ์สงคราม บาดแผล และการเยียวยา,” วารสารสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ปี ที่ 32 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2556), หน้า 56-86.
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “กิน-อยู่-คอื” ในโลกสังคมนิยม !” วารสารเมืองโบราณ ปีที่ 37 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มีนาคม 2554).
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “วัฒนธรรมกับประชาธิปไตย:การเรียกร้องความเท่าเทียมทางวัฒนธรรมของอเมริกัน อินเดียน” วารสารสถาบันพระปกเกล้า ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (2553).
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “Visual Repatriation: แนวคิดและปฏิบัติการ การส่งคืนสมบัติวัฒนธรรม" จดหมายข่าว สมาคมจดหมายเหตุสยาม ฉบับที่ 6 (2553).
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “มรดกโสตทัศน์และอนาคตความทรงจำ" จดหมายข่าวสมาคมจดหมายเหตุสยาม ฉบับที่5 (2552)
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “เปลือยเรือนร่างประวัติศาสตร์สิงคโปร์" จุลสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 12 (2552).
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “หนังบ้าน" จดหมายข่าวสมาคมจดหมายเหตุสยาม ฉบับที่ 4 (2551).
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “คลังเสียงความทรงจำ" จุลสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 11(2551)
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “ระหว่างบรรทัดของการบอกเล่าอดีต" จุลสารจดหมายเหตุ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ฉบับที่ 10 (2550)
  • ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, “จากของสะสมสู่ของพิพิธภัณฑ์เพื่อสังคมในยุโรป” รัฐศาสตรสาร ปีที่ 25 ฉบับที่ 1 (2547).
งานแปล
  • อาบู กาลิม อาหมัด. พิพิธภัณฑ์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรมของมาเลเซีย. แปลโดย เทียมสูรย์ สิริศรีศักดิ์ และชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, 2563.
  • มาริเลน่า อลิวิซาโต. มรดกวัฒนธรรมที่ไม่เป็นกายภาพกับพิพิธภัณฑ์ : มุมมองใหม่ในการอนุรกั ษ์ทาง วัฒนธรรม. กรุงเทพ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร, 2561.
  • Ooi, Can-Seng, “การตอบโต้ของโลกตะวันออก การทอ่ งเที่ยว เสน่ห์ตะวันออก และพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ สิงคโปร,” รัฐศาสตรสาร ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 (2552).
  • แอนนา กรีน, “นิทรรศการที่บอกเล่าด้วยตนเอง : ประวัติศาสตร์คำบอกเล่าและพิพิธภัณฑ์,” จดหมายข่าว สมาคมจดหมายเหตุไทย ฉบับที่ 4 ( 2551).
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)