เกียรติศักดิ์ บังเพลิง

อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา (ศาสนาและปรัชญา) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

1269 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยกรุงเทพปี 2550 (รับผิดชอบรายวิชา ตรรกศาสตร์และจริยศาสตร์)
  • อาจารย์พิเศษมหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต ปี 2550 (รับผิดชอบรายวิชามนุษย์กับการใช้เหตุผล และ ปรัชญากับชีวิต)
  • อาจารย์ (อัตราจ้าง) สาขาศาสนาและปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปี 2550
  • คณะกรรมาธิการการศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ศิลปะและวัฒนธรรม สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ปี 2550
  • ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาตราจารย์ สาขาศาสนาและปรัชญา คณะมนุษยศาสตร์ฯ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2550-2563
  • วิทยากรกระบวนการด้านสิทธิมนุษยชน กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม ปี 2562
  • ได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งอาจารย์ รองศาสตราจารย์ สาขาสังคมวิทยา (อนุสาขาสังคมวิทยากับพุทธศาสนา) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ตั้งแต่ 15 พฤศจิกายน 2563 ปัจจุบัน
ประวัติการศึกษา
  • 2558 ปรด. มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ประเทศไทย
  • 2548 อม. ปรัชญา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ประเทศไทย
  • 2545 พธบ. ปรัชญา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ประเทศไทย
  • 2545 ประกาศนียบัตรวิชาภาษาอังกฤษเฉพาะอาชีพ (ครู) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
  • 2543 เปรียญธรรม 9 ประโยค (ขณะเป็นสามเณร) 2543 สถาบันการศึกษาคณะสงฆ์ไทย
ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
อีเมลKiattisak.b@hotmail.com
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

ผลงานทางวิชาการ :

ภาษาไทย

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2550). ศีลธรรมกับกฎหมายในมุมมองของพุทธศาสนา. ใน คณาจารย์คณะมนุษย์ศาสตร์ (บรรณาธิการ.), วารสารนิติศาสตร์ รพี ๕๐ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี (หน้า. 86-95). กรุงเทพฯ: นิติศาสตร์บันฑิต คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2554). สุนทรียศาสตร์ในมุมมองพุทธปรัชญาเถรวาท. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 พฤษภาคม-สิงหาคม 2554, 31-46.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2558). การประกอบสร้าง "ความเป็นบรู" ร่วมสมัยบนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 34 (1) : มกราคม-มิถุนายน 2558(เราทั้งหมดล้วนเป็นคนอื่น), 31-55.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2558). ชุมชนชาติพันธุ์ "บรู" ร่วมสมัยบนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว: วิถีชีวิตและการปรับตัวทางวัฒนธรรม. (ดุษฎีนิพนธ์ สาขามานุษยวิทยา), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรุงเทพฯ.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2559). "การคืนฮีต" : กลุ่มชาติพันธุ์บรูกับพลวัตของระบบความเชื่อดั้งเดิมในวัฒนธรรมพุทธศาสนา. วารสารสังคมวิทยามานุษยวิทยา, 34 (1) : กรกฎาคม-ธันวาคม 2559(พุทธศาสนาเถรวาทในเอเซียฯ), 73-93.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). ตำนาน "พระแก้วผลึกหมอก" : การเปรียบเทียบความหมายในบริบทวัฒนธรรมสยาม บรู และลาว. วารสารศิลปศาสตร์, ปีที่ 18 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม-มิถุนายน 2561, 196-220.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). พระครูโพนสะเม็ก : ตัวตนทางประวัติศาสตร์และบทบาทพุทธศาสนากับสังคมการเมือง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 (กรกฏาคม-ธันวาคม 2561), หน้า 131-142.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). พิธีระเปิป : "สภาวะระหว่าง/ชายขอบ" กับโครงสร้างวัฒนธรรมของข่าพระแก้ว. วารสารดำรงวิชาการ, ปีที่ 17 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561), หน้า 145-174.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2562). จำปาสัก : พลวัตวัฒนธรรมพุทธศาสนากับการปะทะปฏิสัมพันธ์ทางชาติพันธุ์ (พุทธทศวรรษ 2250-2450). วารภาษา ศาสนาและวัฒนธรรม, ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2562, หน้า 269-288.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2559). พุทธศาสนาในบริบทการธำรงชาติพันธุ์และการสร้างสำนึกรัฐชาติ: กรณีศึกษาชุมชนชาติพันธุ์บรูบนพื้นที่ชายแดนไทย-ลาว, ใน สุชาดา พงศ์กิตติวิบูลย์ และคณะกรรการสังคมศาสตร์ "เอกภาพและความหลากหลายในมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์". ชลบุรี: คณะมนุษย์ ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2559). ชาวบรู: การปรับตัวต่อรองและภาวการณ์กลายเป็นทางชาติพันธุ์ในยุค ร่วมสมัย. ใน ชยันต์ วรรธนะภูติ และคณะ (บรรณาธิการ), รวมบทความการประชุมระดับชาติ

วิถีชาติพันธุ์ในอีสาน:“ภาวการณ์กลายเป็น”ในกระแสการเปลี่ยนแปลงสู่เสรีนิยมใหม่ 7-8 เมษายน 2559 ณ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (หน้า 542-569). เชียงใหม่: ศูนย์ศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2558). วิถีชีวิตและการปรับตัวทางวัฒนธรรมของชาวบรูบนพื้นที่ไทย-ลาวในยุคร่วมสมัย. ใน รัตนะ ปัญญาภา (บรรณาธิการ), การประชุมวิชาการระดับชาติด้านมนุษยศาสตร์และ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ครั้งที่ ๓ (น. 257-272). อุบลราชธานี: ทองพูลทรัพย์ การพิมพ์.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2558). “บรู: อำนาจ พื้นที่ และพลวัต ชาติพันธุ์” นำเสนอในการบรรยายอาเซียนประเด็นชาติพันธุ์ในอาเซียน โดยศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กันยายน 2558.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2561). พระแก้วผลึกหมอก: สัญลักษณ์ศักดิ์สิทธิ์กับพลวัติชาติพันธุ์ของความเป็น "ข่าพระแก้ว". Paper presented at the การประชุมวิชาการประจำปีด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ครั้งที่ 1 ภายใต้หัวข้อ "เชื่อม ข้าม เผชิญหน้า ณ จุดตัด" (connectivity, crossing, and Encouters at the Nexusese) ระหว่างวันที่ 24-25 สิงหาคม 2561, ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์กรมหาชน).

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2564). ผี: มิติความเชื่อกับมุมมองเชิงสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. ภูพานสาส์น วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (2564) : มกราคม-มิถุนายน, 180-200.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2565). "ภูมิปัญญาการรักษาโรคลมชักกับพหุลักษณ์ทางการแพทย์ในบริบทสังคมอีสาน." วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี ปีที่ 16 ฉบับที่ 1 มกราคม-มิถุนายน 2565:146-160.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2566). การปรับตัวทางสังคมวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์โส้ในบริบทสังคมอีสาน. มนุษยสังคมสาร (มสส.) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์, 21(2), 1-17. doi:10.14456/jhusoc.2023.13


หนังสือ

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2564). จำปาสัก: พลวัติพุทธศาสนา ผู้คน และการเมือง. กรุงเทพฯ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

เกียรติศักดิ์ บังเพลิง. (2562). วิถีตะวันออก-ตะวันตก : ศาสนาและปรัชญาเบื้องต้นในโลกตะวันออกและตะวันตก. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ Protext.


ภาษาอังกฤษ

Bangperng, K. (2022). "The Dynamics of Kha Phra Kaeo Identity in the Context of Thai-Lao History and Politics." Manusya: Journal of Humanities 25 (1): December 1-19.

Bangperng, K. (2020). Champasak: Dhammayuttika Nikaya and Maintenance of Power of the Thai State (Buddhist Decade 2390-2450)”. International Journal of Innovation, Creativity and Change, Volume 13 (Issue 12, 2020), 1158-1174 (scopus).

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

ฐานข้อมูลคณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมาหาสารคาม

http://human.msu.ac.th/husoc/personal.php?id=Mg==