ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล

อาจารย์ประจำสาขาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

724 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ภาระงานสอน

  • ระดับปริญญาตรี (หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา)
    • 428 411 องค์กรระหว่างประเทศกับการพัฒนา
    • 428 314 ความสัมพันธ์ของอาเซียนกับชาติมหาอำนาจ
    • 428 311 วิธีวิจัยสำหรับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
    • 428 491 สัมมนา
    • 428 495 สหกิจ
    • HS 812 106 แนวคิดทฤษฎีสำหรับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    • HS 812 107 อาเซียน ชาติมหาอำนาจ และองค์กรระหว่างประเทศ
    • HS 812 108 พรมแดนและชายแดนในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
    • HS 812 109 ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
  • ระดับปริญญาโท (หลักสูตรลุ่มน้ำโขงศึกษา)
    • 400 891 สัมมนาลุ่มน้ำโขงศึกษา
    • HS 857 104 ระเบียบวิธีวิจัยสำหรับลุ่มน้ำโขงศึกษา
  • รายวิชาโทเวียดนามศึกษา
    • HS 831 101 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเวียดนาม
    • HS 831 203 วัฒนธรรมเวียดนาม
    • HS 831 202 เศรษฐกิจสังคมเวียดนามร่วมสมัย
    • HS 831 205 การท่องเที่ยวในเวียดนาม


ประวัติการศึกษา
  • Ph.D. (Ethnology) Vietnam National University-Hanoi, Vietnam
  • สม.ม (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2545
  • ศศ.บ (การพัฒนาชุมชน), 2537
ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อีเมลsilapakit@kku.ac.th
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

ตำราหรือหนังสือ

  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2557). คู่มือภาษาเวียดนาม. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.

ผลงานการวิจัย

  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล (2562) เครื่องรางของขลัง/วัตถุมงคลไทยในสังคมเวียดนามร่วมสมัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (เอกสารอัดสำเนา)
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล (2561) พิธีทรงเจ้าของคนไทยเชื้อสายเวียดนามในภาคอีสานของไทย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (เอกสารอัดสำเนา)
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล (2558) การเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติจากเวียดนามสู่ประเทศไทย มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (เอกสารอัดสำเนา)

บทความทางวิชาการ

  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล (2567). “บ่าจั๋วคอ ”: เทพเจ้าแห่งเงินตรายุคหลัง “โด่ยเหมย” เวียดนาม วารสารภาษาศาสนา และวัฒนธรรม ปีที่ 13 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2567)
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล (2566). “สักยันต์”: การกลายเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางความเชื่อของคนเวียดนาม (บางกลุ่ม) ในปัจจุบัน วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ ปีที่ 40 ฉบับที่ 3 (กันยายน- ธันวาคม 2566)
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล (2565). “เปรียบเวียดนามคือพ่อ เปรียบไทยคือแม่” และ “มีองค์”: อัตลักษณ์ลูกผสมในพิธีทรงเจ้าของคนไทยเชื้อสายเวียดนาม วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ ปีที่ 39 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2565), หน้า 48-73
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล (2563). “ตุ๊กตาลูกเทพ” : กระบวนการเชื่อมโยงเครื่องรางของขลังไทยสู่สังคมเวียดนาม” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 (กันยายน-ธันวาคม 2563), หน้า 79-103
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล (2562). “จากแรงงานข้ามชาติเวียดนามสู่การกลายเป็นคนทรงชั้นครู” : การสร้างความเป็นของแท้ขึ้นใหม่ในพิธีทรงเจ้าของคนไทยเชื้อสายเวียดนามในจังหวัดอุดรธานี” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ ปีที่ 36 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2562), หน้า 55-73
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล . (2559). “มาเมืองไทยไม่ใช่แค่หาอยู่หากิน”: “แรงปรารถนา” ของชาวนาเวียดนามจากจังหวัดห่าติ๊งและเหง่ะอาน” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 12 (1), หน้า 139-162.
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล . (2558). “แรงงานเวียดนามนอกระบบ”: การเคลื่อนย้ายแรงงานข้ามชาติจากจังหวัดห่าติ๊ง(เวียดนาม) สู่ประเทศไทย” วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ , 32 (3), หน้า 173-198.
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2557). “กินอิ่มนุ่งอุ่น": การดิ้นรนทางเศรษฐกิจในชีวิตประจำวันของผู้คนเวียดนามใน "ยุคอุดหนุน.” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง , 10 (3), หน้า 97-121.
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล . (2556). “อยากลืมแต่กลับจำ”: เรื่องเล่า ความทรงจำ และชะตากรรมสมัยปฏิรูปที่ดินของผู้หญิงเวียดนาม (คนหนึ่ง).” วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 9 (3), หน้า 33-55.
  • การตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับชาติ (Proceedings)
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2555). “ลัทธิบูชา "บ่าจั๋วคอ" ในเวียดนาม”. ในการประชุมวิชาการระดับชาติมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์, จัดโดยคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น เมื่อวันที่ 8-9 พฤศจิกายน 2555.

การตีพิมพ์ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (Proceedings)

  • Silapakit Teekantikun. (2015). Transnational labour mobilities from Ha Tinh province (Vietnam) to Thailand: A Preliminary survey” . In the 11th International Conference on Humanities and Social Science (IC-HUSO 2015), During 26-27 November 2015. at the Faculty of Humanities and Social Science, Khon Kaen University, Thailand
  • Leepor Cha and Silapakit Teekantikun. (2014). “Development Policies and Economic, Social, Cultural Adaptation of the Hmong minority group in Luang Prabang, Laos PDR”. In the 5th National Graduate conference (5NGC), During 26th December 2014. Department of Political Science and Public Administration, Kasetsart University.

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

ฐานข้อมูลคณาจารย์สาขาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

https://www.huso-kku.org/lecture.php