ประเสริฐ แรงกล้า

อาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนใจประเด็นวิชาการด้านความเป็นชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การลี้ภัย การย้ายถิ่น และลักษณะข้ามชาติศาสนาและความมั่นคงของมนุษย์ มานุษยวิทยาเศรษฐกิจและการพัฒนา

2643 views | มานุษยวิทยาเศรษฐกิจ, ชาติพันธุ์, ศาสนา


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

ประสบการณ์การทำงาน

  • 2548-2556 อาจารย์ สำนักบัณฑิตอาสาสมัคร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2545-2546 ผู้ประสานงานสถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน)
  • 2541-2544 ผู้ช่วยนักวิจัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

อาจารย์พิเศษ

  • 2557 อาจารย์พิเศษ หลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2557 อาจารย์พิเศษหลักสูตรเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

งานด้านบริหารหรืองานด้านอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

  • กรรมการคณะกรรมการวิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • กรรมการศูนย์ศึกษาวัฒนธรรมร่วมสมัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • รองบรรณาธิการวารสารธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการศึกษา

2555 Ph.D. (Anthropology) Australian Nation University (ANU)

2547 M.Sc. (Natural Resource Management) Asian Institute of Technology

2541 B.A. (Political Sciences) Chulalongkorn University

ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสาขามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อีเมลprasertra@yahoo.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจความเป็นชาติพันธุ์ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้, การลี้ภัย การย้ายถิ่น และลักษณะข้ามชาติ, ศาสนาและความมั่นคงของมนุษย์, มานุษยวิทยาเศรษฐกิจและการพัฒนา
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

Publications (in English)

  • Prasert Rangkla. (2019). Future-making and Frictional Mobility in the Return of Burmese Migrants. Austrian Journal of South-East Asian Studies, 12(1), 17-30.
  • Prasert Rangkla. (2014). Karen Cultural Complex: Ethno-Nationalism and the Vernacular Idiom in the Wrist-Tying Ceremony on the Thailand-Burma Borderland. Journal of South East Asian Studies. 45(1), 74-89.
  • Prasert Rangkla. (2013). Refuge and Emplacement through Buddhism: Karen Refugees and Religious Practices in a Northwestern Border Town of Thailand, The Asia Pacific Journal of Anthropology, 14(1), 8-22.

ผลงานตีพิมพ์ (ภาษาไทย)

  • ประเสริฐ แรงกล้า. (2566). พลังงานหมุนเวียนและความคลุมเครือของการเปลี่ยนผ่านพลังงาน. วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพััฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 6(2), 1-22.
  • ประเสริฐ แรงกล้า. (2565). มานุษยวิทยาจริยศาสตร์: มนุษย์ สิ่งที่ดีและอนาคต. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
  • ประเสริฐ แรงกล้า. (บก.). (2561). ชีวิตทางสังคมในการเคลื่อนย้าย: บทนำ. กรุงเทพฯ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
  • ประเสริฐ แรงกล้า. (2561) ความรู้สึกนึกคิดเชิงเวลาและแรงเสียดทานในการเคลื่อนย้ายกลับพม่า. ใน ประเสริฐ แรงกล้า. (บก.).ชีวิตทางสังคมในการเคลื่อนย้าย. กรุงเทพฯ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หน้า 83-113.

Paper Presentation

  • 2019
    • Prasert Rangkla “Gambling and Ethical Practices: The Striving towards Well-being among Burmese Migrants in Thailand” European Association of Southeast Asian Studies Conference (EuroSEAS), Berlin, Germany, 10-13 September.
  • 2017
    • Prasert Rangkla “Mobility Turn and Its Implications in Migration Research in Thai Studies” 13th International Conference on Thai Studies, Chiang Mai, Thailand, 15-18 July.
  • 2016
    • Prasert Rangkla “Return Mobility, New Entrepreneurs and Politics of Searching a Good Life in Myanmar's Reform Era” 14th European Association of Social Anthropology (EASA) Milan, Italy, 20-23 July.

รายงานวิจัย

  • 2023
    • โครงการวิจัยเรื่อง “ระบบพลังงานและสังคม: การสำรวจสถานภาพองค์ความรู้”
  • 2017-2019
    • โครงการวิจัยเรื่อง “อนาคตและความเป็นไปได้: มุมมองเรื่องเวลาของคนย้ายถิ่นสัญชาติพม่า” สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • 2014-2015
    • โครงการวิจัย เรื่อง การกลับพม่าและการดำรงชีพในสภาวะหลังการพลัดถิ่น: กรณีศึกษาพ่อค้ารายย่อยในพื้นที่ชายแดนไทย-พม่า” สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
หัวเรื่องหลักมานุษยวิทยาเศรษฐกิจ, ชาติพันธุ์, ศาสนา
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)