วิภาวี กฤษณะภูติ

อาจารย์ประจำสาขาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

894 views


ประวัติการศึกษา
  • Ph.D. (Environmental Design and Planning) Virgenia Polytechnic Institute And State University, U.S.A.
  • Master of Urban and Regional Planning, International Development Policy and Planning, and Gender Issues. Virginia Polytechnic Institute and State University (Virginia Tech), U.S.A.
  • สังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต (วิชาเอกสวัสดิการแรงงาน), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • ศิลปศาสตรบัณฑิต (วิชาเอกภาษาอังกฤษ), มหาวิทยาลัยขอนแก่น

ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสาขาวิชาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
อีเมลwipgri@kku.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจสวัสดิการสังคม, สังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, วิสาหกิจชุมชน, วิสาหกิจเพื่อสังคม
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

หนังสือ ตำรา หรือเอกสารประกอบการสอน

  • วิภาวี กฤษณะภูติ. (2557). มหัศจรรย์ไหม: จากท้องถิ่นสู่สากล. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.
  • ศิลปกิจ ตี่ขันติกุล. (2557). วิภาวี กฤษณะภูติ (บรรณาธิการ). คู่มือภาษาเวียตนาม. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.
  • สุธิดา โง่นคำ. (2557). วิภาวี กฤษณะภูติ (บรรณาธิการ). คู่มือภาษาอังกฤษ. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.
  • อรอนงค์ อินสะอาด. (2557). วิภาวี กฤษณะภูติ (บรรณาธิการ). คู่มือภาษาจีน. ขอนแก่น: สำนักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดขอนแก่น.
  • วิภาวี กฤษณะภูติ. (2559). การจัดการวิสาหกิจชุมชน (Management of Community (พิมพ์ครั้งที่ 1). ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ผลงานตีพิมพ์ในวารสาร

  • วิภาวี กฤษณะภูติ, ภัทรพร วีระนาคินทร์, ดารารัตน์ คำภูแสน, อนันต์ คำอ่อน และเบญจวรรณ นัยนิตย์. (2567). สถานการณ์ผู้สูงอายุในจังหวัดขอนแก่นในมิติประชากรศาสตร์และมิติสุขภาพ. วารสารสังคมศาสตร์ปัญญาพัฒน์, 6 (1), 27 40.
  • เบญจวรรณ นัยนิตย์, กีรติพร จูตะวิริยะ และวิภาวี กฤษณะภูติ. (2567). การใช้ระบบอุปถัมภ์เพื่อประกอบสร้างอัตลักษณ์ในการจัดการกลุ่มของกลุ่มทอผ้าไหมในจังหวัดขอนแก่น. วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 40 (1), 122-143.
  • อุทุมพร หลอดโคและวิภาวี กฤษณะภูติ. (2566). การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นในกระบวนการผลิตผ้าทอย้อมครามในจังหวัดสกลนคร. มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 40 (3): 56-79.
  • อุทุมพร หลอดโคและวิภาวี กฤษณะภูติ. (2565). การใช้แนวคิดส่วนประสมการตลาดของหัตถกรรมพื้นบ้าน: เรียนรู้จากกลุ่มทอผ้าย้อมครามในจังหวัดสกลนคร. วารสารพื้นถิ่นโขง ชี มูล, 8(2)
  • รัตนภรณ์ มุ่งช่วยกลางและ วิภาวี กฤษณะภูติ. (2564). การจัดการหมู่บ้านโอทอปนวัตวิถีในจังหวัดขอนแก่น. นานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 11 (2), 53-73.
  • อารยา ญาณพิบูลย์และวิภาวี กฤษณะภูติ. (2563). การจัดการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนแปรรูปปลาในจังหวัดหนองบัวลำภู. นานาชาติ มหาวิทยาลัยขอนแก่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 10 (1), 84-106.
  • วิภาวี กฤษณะภูติและสมใจ ศรีหล้า. (2563). ห่วงโซ่อุปทานการเลี้ยงจิ้งหรีดเชิงพาณิชย์ของเกษตรกรในจังหวัดขอนแก่น. วารสารคณะมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 37 (2), 97-119.
  • วิภาวี กฤษณะภูติ. (2561). สภาพการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดขอนแก่น. วารสารคณะมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. 35 (2), 117-141.

ผลงานตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ

  • Naiyanita, B., Jutaviriyaa, K., Grisanaputia, W. (2024). Identity Construction within the Silk Production Process of Thai Silk Weaving Groups in Khon Kaen Province. Journal of Mekong Societies, 20(1), 158 178.
  • Lordko, U. and Grisanaputi, W. (2023). Models for Improving the Management of Indigo Weaving Groups Under the Concepts of Social Enterprise. Journal of Mekong Societies. 19(1). 68-85.

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

ฐานข้อมูลคณาจารย์สาขาสังคมศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

https://www.huso-kku.org/lecture.php