ฟ้ารุ่ง มีอุดร

อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร มีความเชี่ยวชาญในประเด็นการพัฒนาชุมชน สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม เพศภาวะกับการพัฒนา ความอยู่ดีมีสุขกับการพัฒนา (Wellbeing and development)

1055 views


ประวัติการศึกษา
  • Postdoctoral Fellow (Geographical Sciences), University of Bristol, England อยู่ระหว่างการวิจัย
  • ปริญญาเอก Ph.D. (Social and Policy Sciences) University of Bath, England 2552
  • ปริญญาโท M.A. (Gender and Development) University of Sussex, England 2543
  • ปริญญาโท ศศ.ม (สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม) มหาวิทยาลัยมหิดล 2539
  • ปริญญาตรี ศศ.บ (การพัฒนาชุมชน) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2534

ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
อีเมลfarungm@nu.ac.th, fmeeudon@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจการพัฒนาชุมชน, สังคมศาสตร์สิ่งแวดล้อม, เพศภาวะกับการพัฒนา, ความอยู่ดีมีสุขกับการพัฒนา
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

งานวิจัย

  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร วนมาลินทร์ มหะพันธ์ รัชชานนท์ นันตา. (2566) พิพิธภัณฑ์ชุมชนร่วมสมัย onsite-online ไท-ยวนสมอแข อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก.
  • พีรธร บุณยรัตพันธุ์ และคณะ ฟ้ารุ่ง มีอุดร ( นักวิจัยร่วม). ( 2565). แนวทางการบูรณาการแผนปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวตกรรม (ววน. เชิงพื้นที่ที่สอดคล้องกับการพัฒนาเศรษฐกิจเชิงพื้นที่ระดับภาคของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร นพรัตน์ รัตนประทุม และ กรรณิการ์ ประภาวงศ์ (2563). การค้าชายแดนกับความอยู่ดี มีสุขของประชาชน: กรณีศึกษาชุมชนในพื้นที่ชายแดน ณ จุดผ่านแดนถาวรภูดู่ ต. ม่วงเจ็ดต้น อ.บ้านโคก จ.อุตรดิตถ์.
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร และ นพรัตน์ รัตนประทุม (2562). ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่มีผลต่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชน: กรณีศึกษาพิษณุโลก 2020 เขตเศรษฐกิจใหม่สี่แยกอินโดจีน.
  • พงษ์ศักดิ์ สุทธินนท์ และคณะ ฟ้ารุ่ง มีอุดร ( นักวิจัยร่วม). ( 2561) โครงการเสริมสร้างองค์ความรู้ด้านน้าบาดาลและเครือข่ายเพื่อการบริหารจัดการน้าบาดาลอย่างยั่งยืนเป็นรายแอ่ง พื้นที่แอ่งน้าบาดาลเจ้าพระยาตอนล่าง ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดรและคณะ. 2558. เสียงสะท้อนและมุมมองจากผู้มีส่วนร่วมในโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือยอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ. กาฬสินธุ์ สนับสนุนโดยสถาบันส่งเสริมและพัฒนากิจกรรมปิดทองหลังพระ สืบสานแนวพระราชดำริ
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดรและคณะ. 2557. โครงการการประเมินสถานการณ์ยาสูบเพื่อการเปลี่ยนแปลง จังหวัดขอนแก่น ระยะที่ 2 กลุ่มวิจัยความอยู่ดีมีสุข มหาวิทยาลัยขอนแก่น สนับสนุนโดย ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.)
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร และสยาม บัวระภา. 2555. โครงการการประเมินสถานการณ์ยาสูบเพื่อการเปลี่ยนแปลงจังหวัด ขอนแก่น ระยะที่ 1กลุ่มวิจัยความอยู่ดีมีสุข มหาวิทยาลัยขอนแก่นสนับสนุนโดย ศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ (ศจย.)
  • บัวพันธ์ พรมพักพิงและคณะ ฟ้ารุ่ง มีอุดร ( นักวิจัยร่วม). 2555. การประเมินคุณประโยชน์ของระบบนิเวศน์และความอยู่ดีมีสุข จังหวัดขอนแก่น Sub Global Assessment Wellbeing and Ecosystem Services in Khon Kaen ภายใต้โครงการ Provision of services on Millennium Ecosystem Assessment Sub-Global Assessment (SGA) for Thailand สนับสนุนโดย UNDP .
  • วิเชียร แสงโชติ ฟ้ารุ่ง มีอุดร และ ถนอมสิน พลลาภ. 2546. การประเมินผลการดำเนินงาน สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ( พอช.) ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร และคณะ. 2541. การประเมินผลโครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อมจังหวัดขอนแก่น
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดรและคณะ. 2538. กลยุทธ์ในการป้องกันเอดส์ในเยาวชนในสถานศึกษาเขตเมือง จังหวัดขอนแก่น

บทความทางวิชาการ

ภาษาไทย

  • ฟ้ารุ่ง มีอุดรและ ธัญวดี กำจัดภัย. (2566). ผู้นำสตรี: หุ้นส่วนสำคัญในการพัฒนาชุมชน กรณีศึกษาผู้ใหญ่บ้านหญิงหมู่บ้านนานาง จังหวัดพิษณุโลก รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติและระดับนานาชาติ (NIC-NIDA Proceeding 2023) 17-18 สิงหาคม 2566 ; National Institute of Development Administration (NIDA) หน้า 264- 280.
  • วาสนา ถาฝัน และฟ้ารุ่ง มีอุดร. (2566). ภูมิปัญญาในการจัดการน้ำเหมียง (เหมืองฝาย) แบบล้านนาของชุมชนป่าตึง ตำบลแม่ใจ อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา.รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการพัฒนาชุมชนท้องถิ่นและสังคมระดับชาติ (CSD สัมพันธ์) ครั้งที่ 21 1 - 4 กุมภาพันธ์ 2566 ; มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ หน้า 209-225.
  • ศักรินทร์ ล้อมเพ็งเพียร, กิติคุณ คงมั่น และฟ้ารุ่ง มีอุดร. ( 2566). การเปลี่ยนแปลงแนวทางการพัฒนาสู่ชุมชนนวัตวิถี: กรณีศึกษาบ้านวังส้มซ่า ตำบลท่าโพธิ์ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก.รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการพัฒนาชุมชน ท้องถิ่นและสังคมระดับชาติ (CSD สัมพันธ์) ครั้งที่ 21 1 - 4 กุมภาพันธ์ 2566 ; มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ หน้า 226-243.
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดรและนพรัตน์ รัตนประทุม (2565). ความอยู่ดีมีสุขของประชาชนในเขตพื้นที่ชายแดน: กรณีศึกษาการพัฒนาจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ และการค้าชายแดนจุดผ่านแดนถาวรภูดู่ จังหวัดอุตรดิตถ์. ใน ศิรพร วัชชวัลคุ บรรณาธิการ. พื้นที่ชายแดน ด่านถาวร จุดผ่อนปรนทางการค้า และการพัฒนา หนังสือรวมบทความวิจัยด้านชายแดนศึกษา เชียงใหม่: วนิดาการพิมพ์.
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดรและสยาม บัวระภา. 2558. การประเมินสถานการณ์ยาสูบเพื่อการเปลี่ยนแปลงจังหวัดขอนแก่น. เอกสารการประชุมวิชาการบุหรี่และสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ 14 27-29 กรกฎาคม 2558 กรุงเทพ ฯ
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร. 2554 ความเป็นธรรมและความไม่เป็นธรรมในด้านสุขภาพ: ประสบการณ์จากภาคอีสานในวารสารจดหมายข่าวกลุ่มวิจัยเพื่อความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยขอนแก่น. (มกราคม –มีนาคม 2554) ปีที่ 2 ฉบับที่ 6
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร. 2553 ประสบการณ์ทำงานภาคสนามกับกลุ่มวิจัย WeSD จังหวัดขอนแก่น (บทความแปล จาก Milestones and Development by Noelani Dubeta ) ในวารสารจดหมายข่าวกลุ่มวิจัยเพื่อความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยขอนแก่น(ตุลาคม –ธันวาคม 2553) ปีที่ 1 ฉบับที่ 5
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร. 2553. การประเมินผลที่เน้นความอยู่ดีมีสุขเป็นหลัก. ในวารสารจดหมายข่าวกลุ่มวิจัยเพื่อความอยู่ดีมีสุขและการพัฒนาอย่างยั่งยืน มหาวิทยาลัยขอนแก่น(กรกฎาคม-กันยายน 2553) ปีที่ 1 ฉบับที่ 4
  • จักรพันธ์ ขัดชุ่มแสง และ ฟ้ารุ่ง มีอุดร. 2553. คนพลัดถิ่น คนไร้รัฐ ความเป็นคนที่รอการรับรอง สังคมสวัสดิการ: คน ครอบครัว ชุมชน สู่ความอยู่ดีมีสุข .กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ .
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร. 2547. ความเท่าเทียมและความไม่เท่าเทียมใน: มิติหญิงชายในสังคมไทย.ในวารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มกราคม-มีนาคม 2547) ปีที่ 21 ฉบับที่ 2
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร 2542 ความคิดเห็นของประชาชนขอนแก่นที่มีต่อรัฐธรรมนูญ ปี 2540. ในวารสารการศึกษาต่อเนื่อง (มกราคม-มีนาคม 2542) ปีที่ 7 ฉบับที่ 1
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร 2541 ผลกระทบของปัจจัยต่าง ๆ ที่มีต่อการอนุรักษ์หรือทำลายสิ่งแวดล้อม ในวารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พฤศจิกายน 2540-เมษายน 2541) ปีที่ 15 ฉบับที่ 2
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร 2540 ราชินีในดวงใจเจ้าหญิงไดแอนนาและแม่พระของปวงชนคุณแม่ชีเทเรซ่า ในวารสารสตรีศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น (มกราคม 2540-ธันวาคม 2540) ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
  • ฟ้ารุ่ง มีอุดร 2539 กลยุทธในการป้องกันเอดส์ในเยาวชนในสถานศึกษาเขตเมือง จังหวัดขอนแก่น ในวารสารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น (พฤศจิกายน 2538-เมษายน 2539) ปีที่ 13 ฉบับที่ 2

ภาษาอังกฤษ

  • Farung Mee-Udon, Phitsanu Aphisamacharayothin,Gwyntorn Satean and Saowaluk Limsiriwong (2023). Fighting for a better environment: A women’s community group in Northern Thailand and their eco-print fabric. A paper presented at a seminar on the topic 'Temporality, Spatiality and Diversity in Contemporary Thailand'., The Center for Southeast Asian Studies (CSEAS), Kyoto University.
  • Promphakping, B., Somaboot, P., Mee-Udon, F., Rattanaprathum, N., Weeranakin, P., Promphakping, N., & Suparatanagool, S. (2021). Using life goals to explore subjective well-being of people in northeast Thailand. International Journal of Sociology and Social Policy, online doi:10.1108/IJSSP-06-2020-0219 (Scopus).
  • Farung Mee-Udon and Noparat Rattanaprathum (2020). Development and Wellbeing: A Case Study of the Phitsanulok 2020 Indochina Intersection New Economic Zone. Journal of Mekong Societies, 16(3), 95-115. (Scopus).
  • Dusadee Ayuwat, Farung Mee-Udon and Wipawee Grisanaputi (2019). Preparation of rural Thai women for living with a foreign husband at the destination country. Communications on stochastic analysis. Volume 13 (6), 123-131 (Scopus).
  • Farung Mee-Udon (2015). Thai Women’s Participation in Governance. Proceedings of the 15th Biennial Global Conference of the International Association for the Study of the Commons (IASC) May 25-29, 2015 University of Alberta, Edmonton, Canada. Available in the digital library of the common repository.
  • Farung Mee-Udon and Apiradee Dornornbao (2014). A model for successful women Empowerment for participation in Governance. Proceedings of the Regional Workshop on Women's Participation in Local Governance: Exploring the Way Forward 17-19 November 2014. Bangkok, Thailand.
  • Farung Mee-Udon. (2014). Universal Health Coverage Scheme impact on well-being in Rural Thailand. International. International Journal of Health Care Quality Assurance. Vol 27 , 7.
  • Thantawan M. Buapun P and Farung M. (2014). The local conception of wellbeing in Lao. Asian Social Sciences Vol 11.
  • Farung Mee-Udon (2013). Research for Health Promotion: Khon Kaen Smoke Free Environment. The 5th 5th International Conference on Public Health among GMS Countries. 27-29 September. Yangon Myanmar.
  • Farung Mee-Udon. 2010. Evaluating the Universal Health Insurance Coverage (UC) scheme in Rural Thailand-Using a ‘Wellbeing Focused Evaluation (WFE) approach. Official Conference Proceedings of the Asian Conference on Art and Humanities, Ozaka, Japan .
  • Farung Mee-Udon and McGregor, Allister 2010. Healthcare Needs in a Rapidly Transforming Society: A Wellbeing Focussed Evaluation of the Universal Health Insurance Coverage (UC) scheme in Rural Thailand. Official Conference Proceedings of the 10th ISQOLS Conference: Understanding Quality of Life and Building a Happier Tomorrow, Bangkok, Thailand.
  • Farung Mee-Udon and Ranee Itarat “Women in Thailand: Changing the paradigm of Female Wellbeing” (2005) in Female Well-being: Toward a Global Theory of Social Change edited by Janet Mancini Billson, Carolyn Fluehr-Lobban . London: Zed Books .
  • Farung Mee-Udon (2003) Gender Role in Local Politics in the Northeast of Thailand 2003 A paper for workshop on Socio-Economic and Political Transitions in Northeastern Thailand, The Center for Southeast Asian Studies (CSEAS), Kyoto University.
  • Blumberg, R. and Farung Mee-Udon. 2002. A Natural Experiment for Gender Stratification Theory? The Lao of Northeast Thailand and Laos.
  • John Bryant, Bui Ngoc Son, Farung Mee-Udon ,Peerasit Kamnuansilpa and Thanapan Thanee. 2000. A comparison of selected rural institutions in northern Vietnam and northeast Thailand.

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

ฐานข้อมูลคณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร

http://www.socsci.nu.ac.th/th/?page_id=9089