หทัยรัตน์ มาประณีต

อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

1476 views


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • อาจารย์ประจำภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี 2545 – ปัจจุบัน
  • หัวหน้าภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปี 2560 – ปัจจุบัน
  • อนุกรรมการกลั่นกรองด้านแนวปฏิบัติทางสังคม พิธีกรรม ประเพณี และเทศกาล กรมส่งเสริมวัฒนธรรม กระทรวงวัฒนธรรม ปี 2566 – ปัจจุบัน
ประวัติการศึกษา
  • ศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษาไทย เกียรตินิยม) 2538 มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
  • Master of Arts (Sociology) 2541 University of Houston-Clear Lake, USA
  • Doctor of Philosophy (Sociology) 2545 Utah State University, USA
ตำแหน่งทางวิชาการรองศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจปัญหาสังคม, เพศภาวะ, สังคมวิทยาการพัฒนาและภูมิปัญญา
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

บทความวิจัย

1) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2548). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพของสตรีในองค์การบริหารส่วนตำบล (อบต.) ในจังหวัดนครนายก. วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 1(2): 26-35.

2) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2550). พลังขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ขจัดความยากจนของจังหวัดกาฬสินธุ์: มุมมองของประชาชน.วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 33(2): 58-68.

3) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2551). ปัจจัยเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการออมของนิสิตนักศึกษาในกรุงเทพมหานคร. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 46 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. หน้า 216-223.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

4) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2551). ปัจจัยเชิงสังคมและจิตวิทยาต่อพฤติกรรมการออมของสตรีในชุมชนเมืองยากจน. วารสารมนุษยศาสตร์. 15(2): 80-93.

5) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2553).ผลการดำเนินกิจกรรมสร้างเสริมทัศนคติและพฤติกรรมการประหยัดและออมของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 13(ม.ค.-ธ.ค. 2553): 100-109.

6) หทัยรัตน์ มาประณีต และเบ็ญจรัศม์ มาประณีต. (2554). การมีส่วนร่วมของผู้นำท้องถิ่นในการปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรรม. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 49 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สาขามนุษศาสตร์และสังคมศาสตร์. หน้า 193-200. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

7) Hathairat Marpraneet and Benjaras Marpraneet. (2011). Safeguarding Measures of Intangible Cultural Heritage by Thai Local Leaders. Presented in International Conference on Asian Identities: Trends in a Globalized World, 9-11 February 2011, Imperial Queen’s Park, Bangkok, Thailand.

8) หทัยรัตน์ มาประณีต และเบ็ญจรัศม์ มาประณีต. (2554).แนวทางการปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของผู้นำท้องถิ่น. ใน รวมบทความวิจัยโครงการการประชุมเวทีวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 1. หน้า 90-103. นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร.

9) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2554). การศึกษาทัศนคติด้านความรุนแรงต่อสตรีของสตรีในชุมชนเมือง. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา. 3(6): 162-177.

10) หทัยรัตน์ มาประณีต และเบ็ญจรัศม์ มาประณีต. (2555).การศึกษาความรู้และความตระหนักในคุณค่าของมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของผู้นำเยาวชนในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ในรวมบทความวิจัยโครงการประชุมเวทีวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 2 วันที่ 18 พฤษภาคม 2555 ณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี. หน้า 12-22.

11) หทัยรัตน์ มาประณีต และเบ็ญจรัศม์ มาประณีต. (2555).ความรู้และความตระหนักในคุณค่ามรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม: การศึกษาเปรียบเทียบระหว่างผู้นำเยาวชนประเทศไทยและประเทศอื่นๆ ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ใน เรื่องเต็มการประชุมวิชาการระดับชาติ “ศรีนครินทรวิโรฒวิชาการ” ครั้งที่ 6 วันที่ 30 พฤษภาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

12) Hathairat Marpraneet and Benjaras Marpraneet. (2012). Safeguarding Measures of Intangible Cultural Heritage by Thai Local Leaders. In Proceedings of the Asian Conference of Arts and Cultures 2012 August 9-10, 2012, Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand.

13) หทัยรัตน์ มาประณีต และสุธาทิพย์ ชวนะเวสสกุล. (2555). การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้สมาร์ตโฟนในการเรียนการสอบในห้องเรียนขนาดใหญ่; กรณีศึกษานิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ใน เรื่องเต็มการประชุมวิชาการระดับชาติเพื่อการพัฒนาการวิจัยอย่างยั่งยืน ระหว่างวันที่ 25-26 ธันวาคม 2555 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

14) หทัยรัตน์ มาประณีต และเบ็ญจรัศม์ มาประณีต. (2557).การศึกษากระบวนการปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม: กรณีศึกษาศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดฝั่งคลอง อำเภอปากพลี จังหวัดนครนายก. ในรวมบทความวิจัยโครงการประชุมเวทีวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 4 วันที่ 7 พฤษภาคม 2557 ณ
คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี. หน้า 12-22.

15) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์ และ เบ็ญจรัศม์ มาประณีต. (2558. การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยพวนของคณะกรรมการบริหารศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดฝั่งคลอง จังหวัดนครนายก. ใน เรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 53 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

16) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2558. การศึกษารูปแบบการดูแลเด็กและผู้สูงอายุของบุคคลวัยทำงานในชุมชนเมือง. ในรวมบทความวิจัยโครงการประชุมเวทีวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 5วันที่ 3 กรกฎาคม 2558 ณ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

17) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2559. การศึกษาการปฏิบัติตามค่านิยมหลักคนไทย 12 ประการของนิสิตมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ในรวมบทความวิจัยโครงการประชุมเวทีวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 6วันที่ 17 มิถุนายน 2559 ณ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา จังหวัดชลบุรี.

18) Daphne E. Pedersen and Hathairat Punyopashtambha. (2017). Strategies to Facilitate Work and Family Balance in the Nualjit Community of Bangkok. Quality of Life in Asia: Family, Work and Wellbeing in Asia. Singapore: Springer. Pp.193-209.

19) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2560. การศึกษาวิธีการปกป้องคุ้มครองมรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมของบ้านตุ๊กกะตุ่นหุ่นกระบอกไทย. ในรวมบทความวิจัยโครงการประชุมเวทีวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 7 วันที่ 30 มิถุนายน 2560 ณ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ จังหวัดนครปฐม.

20) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2561. การศึกษาการส่งเสริมทักษะชีวิตในเด็กวัยเรียนของครอบครัวในชุมชนเมือง. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 21(ม.ค.-ธ.ค. 2561): 276-290.

21) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2562. การสังเคราะห์งานวิจัยด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพสตรี. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา. 11(21): 161-173.

22) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2562. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการเสริมสร้างศักยภาพเยาวชนนักฏิบัติการจัดการขยะอินทรีย์. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการเครือข่ายสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 12 วันที่ 24-25 ตุลาคม 2562 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. หน้า 281-300.

23) กัมปนาท บริบูรณ์ และ หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2564. การเตรียมความพร้อมด้านแรงงานผู้สูงอายุในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันอออก 2 เพื่อแก้ปัญหาวิกฤตทางด้านกำลังแรงงานไทยในอนาคต. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการโครงการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติเครือข่ายวิจัยสถาบันอุดมศึกษา ระหว่างวันที่ 5-6 สิงหาคม 2564 ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

24) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2565. การดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในลูกจ้างวัยรุ่นของสถานประกอบกิจการในจังหวัดชลบุรี. ในโครงการประชุมเวทีวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 11 วันที่ 24 มิถุนายน 2565.

25) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2565. การดำเนินงานการป้องกันและแก้ไขปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยรุ่นของสถานศึกษาในกรุงเทพมหานคร. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 25(1): 77-92.

26) หทัยรัตน์ มาประณีต 2566. มุมมองของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับความรุนแรงในคู่ครองสตรีช่วงการแพร่ระบาดโควิด 19. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม. 13(3): 367-383.

27) ศุภศิษฎิ์ คำชาตา และ หทัยรัตน์ มาประณีต. 2567. การทำงานร่วมกันระหว่างเจเนอเรชันเอ็กซ์และเจเนอเรชันวายของกรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติของเครือข่ายความร่วมมือวิชาการ-วิจัยสายมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (HUSOC) ครั้งที่ 16 ประจำปี พ.ศ. 2567. วันทึ่ 17 พฤษภาคม 2567 ณ โรงแรม รอยัลริเวอร์ กรุงเทพฯ. หน้า 60-70.

28) บุณยนุช วิภูอุปรโคตร หทัยรัตน์ มาประณีต และชลวิทย์ เจียรจิตต์. 2567. บทบาทภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมการทำงานอย่างมีความสุขหลังเกษียณสำหรับผู้สูงอายุ. ได้ตอบรับการตีพิมพ์ใน วารสารการวิจัยการบริหารการพัฒนา ปีที่ 14 ฉบับที่ 3 เดือนกรกฎาคม – กันยายน 2567.


บทความวิชาการ

1) Hathairat Marpraneet. (2004). No More Poverty for Thai Women: Can It Become a Reality? Proceedings of the Asia-Pacific NGO Forum on Beijing+10, June 30 - July 3, 2004; Mahidol University, Salaya Campus, Nakhonpatom, Thailand. p. 7-18.

2) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2547). ผู้หญิงไทยจะไม่จน: จากอุดมคติสู่ความเป็นจริง. ใน รายงานการประชุมองค์กรภาคเอกชนแห่งภูมิภาคเอเซียแปซิฟิก, 30 มิถุนายน – 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2547, มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตศาลายา จังหวัดนครปฐม, หน้า 7-19.

3) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2547). การสร้างพลังอำนาจของสตรีในด้านเศรษฐกิจและการค้า: มุมมองของเครือข่ายผู้นำสตรีในกรอบเอเปค. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ม.ค.-ธ.ค. 2547: 13-19.

4) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2548). ความรุนแรงในครอบครัว: ภัยของผู้หญิงที่สังคมต้องรับรู้. ใน ผู้หญิงกับความรุนแรง. หน้า 50-58. กรุงเทพฯ: สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

5) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2549). ความต้องการของสตรีในการขอรับความช่วยเหลือจากหน่วยงานราชการในการประกอบอาชีพ: กรณีจังหวัดกาฬสินธุ์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนคริน-ทรวิโรฒ. ฉบับเดือนม.ค.-ธ.ค. 2549: 80-89.

6) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2549). การส่งเสริมการเรียนรู้ไอซีทีเพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการสตรี. วารสารทรัพยากรมนุษย์. 2(2): 51-56.

7) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2550). สถานภาพและบทบาทของสตรีหัวเหยาไตแห่งลุ่มแม่น้ำแดง. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ฉบับเดือนม.ค.-ธ.ค. 2550: 121-126.

8) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2551). ปล้องไม้ไผ่: ภูมิปัญญาพื้นบ้านสู่การออม. วารสารวัฒนธรรมไทย. 47(3): 28-29.

9) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2552). ชื่อเล่นไทยๆ หายไปไหน. วารสารวัฒนธรรมไทย. 48(2): 27-29.

10) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2552). ความรุนแรงต่อเด็กและสตรี: ภัยทางอินเตอร์เน็ต. ใน ผู้หญิงกับความรุนแรง. หน้า 68-84. กรุงเทพฯ: สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

11) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2552). บทบาทของสตรีในการบริหารจัดการเงินของครอบครัว. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 12(ม.ค.-ธ.ค. 2552): 160-168.

12) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2553). การเสริมสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยสู่วิถีไทยที่ยั่งยืน. วารสารวัฒนธรรมไทย. 49(1): 34-35.

13) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2553). ความล้าทางวัฒนธรรมกับปัญหาสังคมไทย. วารสารวัฒนธรรมไทย. 49(4): 36-37.

14) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2553). ยิ้มแย้มแจ่มใส ... สังคมไทยน่าอยู่. วารสารวัฒนธรรมไทย. 49(9): 10-11.

15) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2554). ความรุนแรงต่อสตรีในชุมชนเมือง. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 14(ม.ค.-ธ.ค. 2554): 134-142.

16) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2555). ที่ทำงานปลอดจากการคุกคามทางเพศต่อสตรีจริงหรือ?ใน ผู้หญิง เด็ก กับความรุนแรง. หน้า 55-64. กรุงเทพฯ: สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์.

17) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2555). การสัก ... จากความเชื่อของผู้ใหญ่สู่กระแสนิยมของเด็ก. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ฉบับที่15 (ม.ค.-ธ.ค. 2555): 163-166.

18) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2556). การละเล่นพื้นบ้านของเด็กไทยพวน. หน้า 19-26. พิธีเปิดศูนย์วัฒนธรรมเฉลิมราชวัดฝั่งคลอง. กรุงเทพฯ: สำนักกิจการโรงพิมพ์ องค์การทหารผ่านศึก ในพระบรมราชูปถัมภ์.

19) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2556). ฤาขันลงหินบ้านบุจะเป็นเพียงตำนาน. วารสารวัฒนธรรม (ม.ค.-มี.ค. 56): 26-33.

20) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2556). ยาหอม สารพัดเวชสรรพคุณ. วารสารวัฒนธรรม (เม.ย.-มิ.ย. 56): 56-63.

21) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2556). จตุพร รัตนวราหะ: ลือนามทศกัณฐ์ ครูโขนไทย. วารสารวัฒนธรรม (ก.ค.-ก.ย. 56): 73-77.

22) หทัยรัตน์ มาประณีต. (2556). ประเพณีวิ่งควาย: ความรักและสามัคคีระหว่างชาวนากับควาย. วารสารวัฒนธรรม (ต.ค.-ธ.ค. 56): 40-47.


หนังสือ

1) หทัยรัตน์ มาประณีต. 2555. สังคมวิทยาเบื้องต้น. โครงการผลิตหนังสือและตำรา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ: กรุงเทพฯ

2) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2561. ภูมิปัญญท้องถิ่นกับการพัฒนา. รุ่งเรือง: กรุงเทพฯ.

3) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์. 2564. สังคมวิทยาว่าด้วยเพศสภาพและเพศภาวะ. โครงการผลิตหนังสือและตำรา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ: กรุงเทพฯ

4) หทัยรัตน์ บุณโยปัษฎัมภ์ และ ศุภณัฐ พานา. 2566. หน่วยที่ 6 สังคมวิทยาและมานุษยวิทยากับวิชาสังคมศึกษา. หน้า 1-70. ประมวลสาระชุดวิชาสารัตถะและวิทยวิธีทางการสอนสังคมศึกษา สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1). มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช: นนทบุรี.

ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

แหล่งอ้างอิงข้อมูล

ฐานข้อมูลคณาจารย์ภาควิชาสังคมวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

https://soc.swu.ac.th/th/about-us/personnel-th/dep...