ผลงานวิชาการที่สำคัญ | งานวิจัย
- 2552 : ผู้วิจัย, การมีส่วนร่วมของยุวมัคคุเทศก์เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน ศึกษากรณี ศูนย์ศึกษาเรียนรู้ระบบนิเวศป่าชายเลนสิรินาถราชินี อ.ปราณบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์
- 2552 : ผู้วิจัย, การวิจัยชั้นเรียนเรื่องการประเมินวิชาจิตสำนึกสาธารณะเพื่อชุมชน เพื่อพัฒนาวิธีสอน
- 2555 : ผู้ร่วมวิจัย, โครงการประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจแก่ประชาชนในการดำเนินการ โครงการอุทยานสวนจตุจักร
- 2556 : ผู้ร่วมวิจัย, การมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการน้ำท่วม พื้นที่ศึกษา ตำบลกบเจาและตำบลเขาแก้ว ภายใต้โครงการการจัดการผลกระทบจากน้ำท่วมสำหรับพื้นที่เกษตรกรรมในประเทศไทย
- 2557 : ผู้ร่วมวิจัย, โครงการการสร้างระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการน้ำท่วมอย่างมีส่วนร่วมในพื้นที่โครงการชลประทานขนาดใหญ่
- 2557 : ผู้ร่วมวิจัย, โครงการติดตามและบูรณาการอย่างมีส่วนร่วมของโครงการพัฒนาแก้มลิงหนองเลิงเปือย อันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดกาฬสินธุ์
- 2557 : ผู้ร่วมวิจัย, โครงการวิจัยสถาบันเพื่อการพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมวิทยาประยุกต์
- 2558 : ผู้ร่วมวิจัย, กระบวนการจัดการและตอบสนองต่อระบบเกษตรพันธะสัญญาของเกษตรกรเพื่อการดำรงชีวิตอย่างยั่งยืน: กรณีศึกษาระบบเกษตรพันธะสัญญาในจังหวัดนครปฐม
- 2564 : ผู้วิจัย, ปาณิภา สุขสม. เสียงจากห้องแล็บ : ประสบการณ์การทำงานและความรู้สึกของคนทำแล็บเมื่ออยู่ร่วมกับเชื้อโควิด-19
- 2566 : ผู้วิจัย, ปาณิภา สุขสม. ชีวการแพทย์สมัยใหม่ ร่างกาย ความเสี่ยงและนัยเชิงสังคมจากเทคโนโลยีการฝากไข่
บทความ - ธรรมปพน ทรงธิบาย และปาณิภา สุขสม. (2566). วัฒนธรรมการนอนในโลกทุนนิยม: ข้อเสนอสู่สมดุลการดําเนินชีวิตกับการนอนในโลกทุนนิยม. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการอิเล็กทรอนิกส์ (E-Proceedings) งานสัมมนาเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา สาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 22 ประจําปี พ.ศ. 2566 หัวข้อ “Coexisting with (Un)certainty สะท้อนย้อนคิดถึงความไม่/แน่นอน”, 2566, 722 หน้า. พิษณุโลก: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
- ปาณิภา สุขสม. (2566). มานุษยวิทยากับการศึกษาอาชญากรรม. แหล่งสืบค้น : https://www.sac.or.th/portal/th/article/detail/423
- ปาณิภา สุขสม. (2565). “การฝากไข่”: ชีวการแพทย์สมัยใหม่กับการเจริญพันธุ์ของผู้หญิง. แหล่งสืบค้น : https://www.sac.or.th/portal/th/article/detail/403
- สุพิชชา แก้วประเสริฐ และปาณิภา สุขสม. (2565). ประสบการณ์และการโต้กลับของเหยื่อการคุกคามทางเพศในโรงเรียน. วารสารชุมนุมสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. 5(1), 280-306.
- สวรส วิชาวิริยะกุล และ ปาณิภา สุขสม. (2565). วิถีชีวิตและการปรับตัวของลูกหาบในสถานการณ์การแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโควิด-19 กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติภูกระดึง. วารสารชุมนุมสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. 5(1), 120-148.
- ปาณิภา สุขสม. (2565). (“(เ)ปิดทองหลังพระ” : ปฏิบัติการแห่งความหวังกับเบื้องหลังชีวิตที่ถูกลืมของชาวแล็บ. พินิจวิกฤติโควิด 19: อคติ อารมณ์ ประสบการณ์และความหวัง. กรุงเทพฯ : ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) (ศมส.) หน้า 49-60.
- Panipa Suksom and Jakkrit Sangkhamanee. (2022). Maternal techno-space: Assisted Reproductive Technology (ART) and the ontological construction of motherhood in Thailand. Kasetsart Journal of Social Sciences., 43 (2022), 539–546.
- พิชามญช์ หอมชื่น และ ปาณิภา สุขสม. (2564). การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ของแม่วัยใสกับการสร้างอัตลักษณ์ความเป็นแม่. วารสารชุมนุมสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา, 4(1), 88-117.
- ปาณิภา สุขสม. (2563). พื้นที่เชิงเทคโน: การประกอบสร้างเชิงภววิทยาของวิถีความเป็นแม่ผ่านเทคโนโลยีเพื่อการเจริญพันธุ์, การประชุมวิชาการระดับชาติด้านมานุษยวิทยาและสังคมวิทยา ครั้งที่2 หัวข้อ “คลี่-คลาย-ญ่าย-เคลื่อน” 20 - 21 พฤศจิกายน 2563 ณ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, หน้า 78.
- ปาณิภา สุขสม. (2563). “หน้ากากอนามัย : อํานาจของวัตถุกับการป้องกันเชื้อโรคโควิด 19.” ใน กังสดาล เชาว์วัฒนกุล. (บก.) รวมบทความพิเศษ สังคมไทยเรียนรู้อะไรจาก COVID-19. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รัตนตรัย.
- ปาณิภา สุขสม. (2563). การแบ่งปันข้อมูลส่วนตัวลูกของพ่อแม่กับคุณค่าความเป็นส่วนตัวของเด็กในสื่อสังคมออนไลน์. วารสารวิชาการกสทช., 5(1), 110-129.
|