ดำรงพล อินทร์จันทร์

อาจารย์ประจำภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร มีความเชี่ยวชาญและสนใจในประเด็นเรื่องชาติพันธุ์ศึกษา ภาพยนตร์ชาติพันธุ์ และไทศึกษา

4405 views | ชาติพันธุ์


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

วิทยานิพนธ์ปริญญาเอก

2559 วิทยานิพนธ์เรื่อง “นุง” ในจีนตอนใต้: ประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ ภาษา และวัฒนธรรม (“Nung” of Southern China: Their historical, linguistic and cultural backgrounds)

วิทยานิพนธ์ปริญญาโท

2545 วิทยานิพนธ์เรื่อง “การฟื้นฟูวัฒนธรรมของไทอาหมในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย”


ประสบการณ์อื่น ๆ

2560 Oral Presentation ““Nung” people of Southern China: their historical and socio-cultural contexts” Regional Conference RGJ Seminar Series 117 Theme: Social Development, Mae Fah Luang University, Chiang Rai, Thailand.

2559 วิทยากรบรรยาย “การเซ่นผีในวัฒนธรรมกะซอง จากอดีตสู่สังคมสมัยใหม่” จัดโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

วิทยากรเสวนา “ไท ในโลกวิชาการ: ว่าด้วยการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ไท” ในสัมมนาเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ในโอกาสมหามงคลฉลองสิริราชสมบัติครบ 70 ปี เรื่อง 8

“ไท” ในไทย: พลวัตชาติพันธุ์ ภาษาและวัฒนธรรม จัดโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

2558 - Steering Committee and Social Program Sub-Committee IUAES Inter-Congress 2015 “Re-Imagining Anthropological and Sociological Boundaries” July 15-17, 2015 Thammasat University, Bangkok, Thailand.

-วิทยากร รายการสารคดีโทรทัศน์ Spirit of Asia ชุด “ชาติพันธุ์คนไท” ออกอากาศทาง สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส

2558 – 2559 อาจารย์พิเศษ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี จังหวัดนนทบุรี

2555 – ปัจจุบัน กรรมการสมาคม นักสังคมวิทยาและนักมานุษยวิทยาสยาม (Siamese Association of Sociologists and Anthropologists; SASA)

2555 -ผู้ดาเนินรายการ และที่ปรึกษาโครงการ เสวนา “Living Museum : พิพิธภัณฑ์มีชีวิต ชุมชนปากคลองตลาด” (ครั้งที่ 1: 19 สิงหาคม และครั้งที่ 2: 23 กันยายน 2555)

โดย ฝ่ายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ

2551 -หัวหน้าภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร (23 มีนาคม 2550-25 เมษายน 2551)

- หัวหน้าโครงการวิจัย สำรวจและเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อพัฒนาโครงการวิจัยสังคมวัฒนธรรมชุมชนริมน้ำท่ามกลางการกลายเป็นเมือง พื้นที่ศึกษาชุมชนตลิ่งชันและท่าพูด สนับสนุนโดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

2550 - Special Lecture on “Fieldworks on tai Studies” to M.A. students at S.E Asian Studies University of Calcutta. 23rd November, 2007.

-วิทยากรบรรยายในโครงการสัมมนาทางวิชาการเนื่องในโอกาส 72 ปี ธรรมศาสตร์ เรื่อง “โลกของคนไท” เรื่อง “คนไทในลุ่มแม่น้าแดง” และ “คนไทในลุ่มแม่น้าพรหมบุตร” จัดโดย สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- วิทยากรร่วมเสวนาเรื่อง “คนชายขอบ” ในเทศกาลภาพยนตร์ชาติพันธุ์ ณ ศูนย์ศิลปวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

- ผู้ดาเนินรายการและให้ความเห็นบทความกลุ่ม ”คนพลัดถิ่น-คนข้ามแดน” ในการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยา ครั้งที่ 6 เรื่อง “รัฐ จากมุมมองของชีวิตประจาวัน” ระหว่างวันที่ 28-30 มีนาคม 2550

-วิทยากรร่วมเสวนาท้องถิ่นของเราเรื่อง ชายฝั่งทะเลตะวันออกแม่น้ำเจ้าพระยาและเจ๊กปนลาวบนเส้นทางพระเจ้าตาก ณ หอประชุมโรงเรียนพนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา” ในวันเสาร์ที่ 7 กันยายน 2550 9

-ผู้ดาเนินรายการเสวนาเรื่อง “คนไทย เป็นใคร มาจากไหน? ในแผนที่ประวัติศาสตร์(สยาม)ประเทศไทย” จัดโดย สำนักวิจัยและส่งเสริมวัฒนธรรมวิถีชน สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม , คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรและสถาบันและพัฒนา มหาวิทยาลัยศิลปากร

-ผู้ดาเนินรายการ “เสวนาวิชาการเพื่อเชิดชูเกียรติ รองศาสตราจารย์ศรีศักร วัลลิโภดม” เนื่องในโอกาสได้รับรางวัลวัฒนธรรมแห่งเอเชียเมืองฟูกุโอกะ ประจำปี พ.ศ. ๒๕๕๐ (The 18th Fukuoka Asian Culture Prizes 2007) จัดโดย ภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร

-นักวิจัยในโครงการวิจัยเรื่อง “การสืบค้นและการจัดการทรัพยากรทางวัฒนธรรมอย่างยั่งยืนในอำเภอปาย-ปางมะผ้า – ขุนยวม” (Exploration and Sustainable Heritage Management in Pai-Pang Mapha-Khun Yuam Districts, Mae Hong Son Province)

2549 - อาจารย์พิเศษ ภาควิชาภูมิศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

-อาจารย์พิเศษ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์

- หัวหน้าโครงการวิจัย ชุมชนท่าเตียนและปากคลองตลาด: เรียนรู้รอบรั้วพิพิธภัณฑ์ สนับสนุนโดย สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ (สพร.)

- วิทยากรบรรยายในโครงการสัมมนาทางวิชาการเนื่องในโอกาส 72 ปี ธรรมศาสตร์ เรื่อง “โลกของคนไท” จัดโดย สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- คณะวิจัยโครงการวิจัย Brain-Based Learning for Universities ภายใต้ความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ศูนย์ลำปาง และมหาวิทยาลัยศิลปากรสนับสนุนโดย สถาบันคลังสมองของชาติ

- คณะวิจัย ทีมสังเคราะห์ประเด็น “วัฒนธรรมย่อยกับวัฒนธรรมชายขอบ และความหลากหลายทางชาติพันธุ์” ใน โครงการประเมินและสังเคราะห์สถานภาพองค์ความรู้การวิจัยวัฒนธรรมในประเทศไทย โดย คณะอนุกรรมการวิจัยวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ (สวช.)

-คณะกรรมการคัดเลือกและวิทยากรบรรยายในโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อการผลิตภาพยนตร์เชิงสารคดี/ชาติพันธุ์ ของ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

- ผู้ควบคุมการผลิตและเขียนบทวีดิทัศน์ เรื่อง “รอยวัฒนธรรมชาวจ้วงในกวางสี-กวางตุ้ง” นำเสนอใน โครงการสัมมนาทางวิชาการเนื่องในโอกาส 72 ปี ธรรมศาสตร์ เรื่อง “โลกของคนไท” จัดโดย สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 10

- ผู้ช่วยบรรณาธิการหนังสือ ฉัตรทิพย์ นาถสุภา และวัลย์วิภา บุรุษรัตนพันธ์ (บรรณาธิการ) ประวัติศาสตร์ความคิดไทยกับแนวคิดชุมชน จัดพิมพ์โดย สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ จำกัด

2548 – Special Guest on The Conference on “Festival of Anthropological / Ethnographic Films” on 7th- 8th July 2005, organized by Vietnam Museum of Ethnology, Hanoi, Vietnam

-นักวิจัยในโครงการวิจัยเรื่อง ”การศึกษาเปรียบเทียบวิถีชีวิตและการเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของกลุ่มชาติพันธุ์ไทที่พูดภาษาตระกูลไทสาขากลางและเหนือในประเทศเวียดนาม” สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-วิทยากร โครงการอบรมวิทยากรนำชมห้องนิทรรศการและห้องพิพิธภัณฑ์ของศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร(องค์การมหาชน)

-ผู้ดาเนินรายการในการเสวนา เรื่อง”ภาพยนตร์สงคราม: เรื่องเล่าของความรุนแรง” ใน เทศกาลภาพยนตร์ครั้งที่ 2 “คน สงคราม สันติภาพ” ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

2547 -คณะทางานโครงการสัมมนาทางวิชาการเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ เรื่อง “ความก้าวหน้าของการศึกษาวิจัยกลุ่มชาติพันธุ์ไทในสาธารณรัฐประชาชนจีน” ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

-คณะวิจัยโครงการเสวนาทางวิชาการเรื่อง “ตลาดชาวบ้าน” ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

- วิทยากรบรรยาย เรื่อง ”การใช้สื่อภาพยนตร์และงานทางมานุษยวิทยา” ใน เทศกาลภาพยนตร์ทางชาติพันธุ์ ครั้งที่ 1 ”คือ...คน” โดย ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

- วิทยากร สัมมนา “ชาติพันธุ์-ชนเผ่าเหล่ากอของอุษาคเนย์ ใน ความเป็นมาฯ: พรมแดนแห่งความรู้” งานเปิดตัว กองทุนจิตร ภูมิศักดิ์ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2546 -วิทยากรนาเสนอผลงานวิจัยเรื่อง “การเมืองว่าด้วยเรื่องอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์ของไทอาหม” ในการประชุมประจำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 2 ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

2545 -วิทยากรและคณะทางานสัมมนาเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาหลักสูตรปริญญาเอกสาขามานุษยวิทยาครั้งที่ 1 เรื่อง อนาคตไทศึกษา ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-ผู้เสนอผลงานวิจัย ในงานประชุมเสนอระดับบัณฑิตศึกษาของประเทศไทย ครั้งที่ 3 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี จังหวัดนครราชสีมา

-วิทยากรร่วม ในสัมมนาทางวิชาการ หัวข้อ “ข้าวของและตัวตนของคนพื้นเมือง: นิทรรศการ และประสบการณ์จากสนาม” ณ หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 11

2544 ภายใต้โครงการศึกษาวิจัยชนชาติไท ของสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- ผู้ควบคุมการผลิตและเขียนบทวิดีทัศน์ เรื่อง “เยือนถิ่นคนไทในอัสสัม ประเทศอินเดีย”

- ผู้ควบคุมการผลิตและเขียนบทวิดีทัศน์ เรื่อง “คนไตในบักฮา ประเทศเวียดนาม”

- คณะผู้วิจัยภาคสนามโครงการวิจัยศึกษาเกี่ยวกับชนชาติไทในประเทศลาว

- ผู้ช่วยวิจัยภาคสนามโครงการศึกษาความเชื่อและพิธีกรรมของคนไท ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน

2543 - วิทยากรร่วมในสัมมนาทางวิชาการหัวข้อ “การศึกษาชนชาติไท : ระเบียบวิธีใหม่” ณ ห้องประชุมตึกอเนกประสงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- ผู้ควบคุมการผลิตและเขียนบท The Funeral Rite of Tai Thanh in Nghe An, Vietnam วิดีทัศน์นำเสนอในการสัมมนาเชิงปฏิบัติการ ณ Institute of Southeast Asian Studies, Center for Social Sciences เมืองฮานอย ประเทศเวียดนาม

-ผู้ควบคุมการผลิตวิดีทัศน์ บันทึกเรื่องเมืองพวน สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-ผู้ช่วยวิจัยภาคสนามโครงการ ศาสนาและความเชื่อของคนไท ณ ประเทศอินเดีย สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

-ผู้ช่วยวิจัยภาคสนาม โครงการศึกษากลุ่มชาติพันธุ์ไทในประเทศสหภาพเมียนมาร์ สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

2542 - ผู้ควบคุมการผลิตร่วม และครีเอทีฟ Development and Forest Conservation : the excluded hill tribes of Thailand วิดีทัศน์นำเสนอในงานสัมมนาไทศึกษา ณ กรุงอัมสเตอร์ดัม ประเทศเนเธอร์แลนด์

- ผู้ช่วยวิจัยภาคสนาม โครงการศึกษาวิถีชีวิต สังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรมคนไทในประเทศเวียดนาม สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

- ครีเอทีฟ สารคดีโทรทัศน์เรื่อง แม่ทา: องค์กรชุมชนกับการพัฒนาที่ยั่งยืน อำนวยการผลิตโดย เครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ

- ผู้ควบคุมการผลิตและเขียนบท พิธีศพคนไทยแถงในเวียดนาม วิดีทัศน์นำเสนอในการสัมมนาวิชาการของสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ หัวข้อ คนไทก่อนอารยะ ณ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

- ผู้ควบคุมการผลิตและเขียนบท รายการสารคดีโทรทัศน์ เมืองไทย 2000 ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 9 อ.ส.ม.ท. 12

-ผู้ควบคุมการผลิตและเขียนบทรายการสารคดีโทรทัศน์ ท่องไทย…สุดสัปดาห์ ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.

2541 - ครีเอทีฟ วิดีทัศน์เพื่อการศึกษาเรื่อง เหมืองฝาย

อำนวยการผลิตโดย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ร่วมกับ รัฐบาลสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมัน

-ผู้ควบคุมการผลิต บริษัท Communication Association and Production จำกัด

ผลิตรายการออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ของกรมประชาสัมพันธ์ ช่อง 11 ลำปาง

2540 -ผู้ควบคุมการผลิตร่วม เพลงชีวิตเหนือทุ่งธารใบไม้แม่น้าปาย วิดีทัศน์โดย เครือข่ายองค์กรพัฒนาเอกชนภาคเหนือ จังหวัดแม่ฮ่องสอน

- Author The Wisdom of Ancestor” in Outlook Section , Bangkok Post Newspaper, 16th July 1997.

2538 -ผู้ควบคุมการผลิตร่วม สารคดีโทรทัศน์ เรื่อง ดาระอั้ง: เมล็ดพันธุ์ชีวิตไร้พรมแดน

บริษัท พาโนรามาดอคคิวเมนทารี จำกัด ออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.

ตีพิมพ์บทความสารคดีในนิตยสาร Thailand Geographic

- ผู้เขียน “เวิกมะรกเมิง: ปลดปล่อยพันธุ์ชีวิตไร้พรมแดน” นิตยสาร Thailand Geographic ปีที่ 1 ฉบับที่ 8.

- ผู้เขียน“แม่สะเปา: เมล็ดพันธุ์ดั้งเดิมแห่งถนนธงชัย” นิตยสาร Thailand Geographic ปีที่ 1 ฉบับที่ 3.

ประวัติการศึกษา

ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (สหวิทยาการ) โครงการปริญญาเอกสหวิทยาการ วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2556

ทุนการศึกษา ทุนโครงการปริญญาเอกกาญจนาภิเษก (คปก.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

ปริญญาโท สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา); สม.ม.(มานุษยวิทยา) คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ พ.ศ. 2545

ทุนการศึกษา ทุนสนับสนุนการทำวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโทจากโครงการอาณาบริเวณศึกษา 5 ภูมิภาค (อบศ.5) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกษตรศาสตร์) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ พ.ศ. 2537

มัธยมศึกษา โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2534

ตำแหน่งทางวิชาการผู้ช่วยศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันภาควิชามานุษยวิทยา คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
อีเมลdamrongphon@yahoo.com, dam.inchan@gmail.com
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจมานุษยวิทยาสังคมและวัฒนธรรม, ชาติพันธุ์ศึกษา, ไทศึกษา, การผลิตสื่อเพื่อการวิจัย, ภาพยนตร์ทางชาติพันธุ์, สหวิทยาการ, ระเบียบวิธีวิจัยทางมานุษยวิทยา, มานุษยวิทยาว่าด้วยความตาย
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

  • ดำรงพล อินทร์จันทร์, นัฐวุฒิ สิงห์กุล และกุลศิริ อรุณภาคย์ (2566). ชุดโครงการวิจัย "พลวัตทางชาติพันธุ์ของชุมชนกะเหรี่ยงภาคตะวันตกของไทย: ลัทธิเจ้าวัด วัฒนธรรมสุขภาพ และการท่องเที่ยว" กองทุนสนับสนุนการวิจัย นวัตกรรม และการสร้างสรรค์ของคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร.
  • ดำรงพล อินทร์จันทร์, นัฐวุฒิ สิงห์กุล, บัณฑิต ไกรวิจิตร และอุทัย. (2566). “ชาติพันธุ์แห่งสุวรรณภูมิ” (Ethnicity in Suvarnabhumi) สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม กับมหาวิทยาลัยศิลปากร โครงการขับเคลื่อนการวิจัยและพัฒนาบุคลากรการวิจัยด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์ (ธัชชา). (192 หน้า)
  • ดำรงพล อินทร์จันทร์. (2562). “พลวัตชุมชนชาติพันธุ์กะเหรี่ยงภาคตะวันตกของไทย ระยะที่ 1 พื้นที่ศึกษา จังหวัดกาญจนบุรี ราชบุรี และเพชรบุรี” กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). (131 หน้า)
  • ดำรงพล อินทร์จันทร์. (2561). “การเปลี่ยนแปลงประเพณี และพิธีกรรม “เม-ด้ำ-เม- ผี” ของคนไทอาหม รัฐอัสสัม อินเดีย” กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). (134 หน้า)


ผลงานวิจัยที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปแบบบทความวิจัยในวารสารวิชาการ

  • ดำรงพล อินทร์จันทร์. (2563). “พลวัตของพิธีกรรม “เม-ด้ำ-เม-ผี”ของไทอาหม ภายใต้บริบททางสังคมการเมืองของรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย” วารสารมานุษยวิทยา. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2563). หน้า 95-148.
  • Damrongphon Inchan. (2015) “Nong” of Southern China: Linguistic, Historical and Cultural Contexts” Silpakorn University Journal of Social Sciences, Humanities, and Arts. Vol. 15 No. 1 (January - April), pp. 157-170. (TCI กลุ่ม 1)
  • Damrongphon Inchan. (2014) “Politics of Ethnic Identity: A case study of Tai Ahom Cultural Revival Movement in Upper Assam” Tai Culture: Interdisciplinary Tai Studies Series: Tai Ahom in Assam, Vol. 21, pp. 143-160. (SCOPUS)


หนังสือและเอกสารเผยแพร่

  • ดำรงพล อินทร์จันทร์. (2562). มานุษยวิทยาร่วมสมัย. สูจิบัตรประกอบนิทรรศการมานุษยวิทยาร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).
  • ดำรงพล อินทร์จันทร์. (2561). มานุษยวิทยาพัฒนา-กาล. สูจิบัตรประกอบนิทรรศการมานุษยวิทยาพัฒนา-กาล. กรุงเทพฯ: ห้องสมุดศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน).


บทความวิชาการ

  • Inchan, Damrongphon. (2020). “Me-Dam-Me-Phi: Tai Ahoms’s ancestor worship.” Souvenir for Mae Dam Mae Phi Celebration. Mariani, Jorhat, Assam, India hold on 31th January 2020 organizing by All Tai Ahom Student Union (ATASU), Assam, India.
  • Inchan, Damrongphon. (2019). “The Ancestor worship rituals among the Zhuang people of China.” Annual Journal Jan Sai Hung on the occasion of Poi Me -Dam -Me -Phi 2019, Jorhat, Assam, India hold on 31th January 2019 organizing by Tai Ahom Sanskriti Sangrakshan Aru Sikhah Bikash Samiti (TAISSAB) at Joya Bhawan, Jorhat, Assam, India.


ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
หัวเรื่องหลักชาติพันธุ์
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)