อนุสรณ์ อุณโณ

อาจารย์ประจำสาขามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สนใจในประเด็น อำนาจ อัตลักษณ์ ตัวตน ศักยภาพกระทำการ การเมืองในชีวิตประจำวัน มลายูมุสลิม ชายแดนภาคใต้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา ผลงานวิชาการ อาทิ นบีไม่กินหมาก, การปรับเปลี่ยนเรียนรู้ในการเคลื่อนนโยบายสาธารณะภายใต้กระบวนการปฏิรูประบบสุขภาพ: กรณีเครือข่ายเกษตรกรรมทางเลือก, ขบวนการเกษตรกรรมยั่งยืนในสังคมไทยและการเมืองของงานเขียนเกษตรกรรมยั่งยืน

5287 views | มุสลิมศึกษา


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน

รางวัลและทุนที่ได้รับ

  • Doctoral Dissertation Improvement Grant (DDIG) National Science Foundation (NSF), USA

งานด้านบริหารหรืองานด้านอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

  • ธันวาคม 2556-ปัจจุบัน คณบดีคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

ประสบการณ์การทำงาน

  • ผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาสังคมและวัฒนธรรมร่วมสมัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา

ประวัติการศึกษา
  • PhD (Anthropology), University of Washington, 2011
  • Master of Arts (Anthropology), University of Washington, 2008
  • สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต (มานุษยวิทยา) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2541
  • อักษรศาสตรมหาบัณฑิต (วรรณคดีเปรียบเทียบ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540
  • อักษรศาสตรบัณฑิต (เอกภาษาอังกฤษ โทภาษาเยอรมัน) มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2536
ตำแหน่งทางวิชาการศาสตราจารย์
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันสาขามานุษยวิทยา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
อีเมลanusorn.unno@gmail.com, uanusorn@tu.ac.th
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจอำนาจและอัตลักษณ์, การเคลื่อนไหวทางสังคม, การเมืองในชีวิตประจำวัน, มลายูมุสลิม, ชายแดนภาคใต้, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศึกษา, ศักยภาพกระทำการ, สภาวะองค์ประธาน
CVดาวน์โหลด
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

โครงการวิจัย

  • 2564-2565 หัวหน้าโครงการวิจัย “ให้มันจบที่รุ่นเรา”: ขบวนการเยาวชนไทยในบริบทสังคมและการเมืองร่วมสมัย” สำนักงานการวิจัยแห่งชาติ
  • 2562-2564 อัตลักษณ์ที่คุกคามกับปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • 2561-2563 การศึกษา “ชายแดนใต้” ในบริบทพรมแดนไทย-มาเลเซีย: สถานะความรู้ ข้อท้าทาย และความเป็นไปได้ใหม่ กองทุนวิจัยคณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • 2557-2560 หัวหน้าโครงการวิจัยร่วม “การเมืองคนดี: ความคิด ปฏิบัติการ และอัตลักษณ์ทางการเมืองของผู้สนับสนุน “ขบวนการเปลี่ยนแปลงประเทศไทย” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • 2555-2558 “คืนนี้ไม่มี ‘ดังดุท’: อำนาจเหนือชีวิตกับการสร้างตัวตนและแสดงออกซึ่งศักยภาพแห่งตนของชาวมลายูในจังหวัดชายแดนภาคใต้” ทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาแห่งชาติ และมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ผลงานวิจัย

ภาษาไทย

  • 2567
    • อนุสรณ์ อุณโณ “โลกกว้าง ทางแคบ: สำนึกและการเคลื่อนไหวทางการเมืองของคนอีสานในทัศนะของคายส์,” ใน วสันต์ ปัญญาแก้ว (บก.) ชาร์ล คายส์ มิตรสนิทของชาวไทย เชียงใหม่: ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • 2566
    • อนุสรณ์ อุณโณ และคณะ “ให้มันจบที่รุ่นเรา”: ขบวนการเยาวชนไทยในบริบทสังคมและการเมืองร่วมสมัย กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แสงดาว
    • อนุสรณ์ อุณโณ “อัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์และศาสนากับปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้,” วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 19 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566) หน้า 1-41
    • อนุสรณ์ อุณโณ “อำนาจเหนือชีวิต สภาวะตัวตน และศักยภาพกระทำการในจังหวัดชายแดนใต้,” วารสารพัฒนศาสตร์ วิทยาลัยพัฒนศาสตร์ ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน 2566) หน้า 1-52
  • 2564
    • อนุสรณ์ อุณโณ อัตลักษณ์ที่คุกคามกับปัญหาความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้ รายงานวิจัย สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
    • อนุสรณ์ อุณโณ “มโนทัศน์สภาวะองค์ประธาน (Subjectivity) และศักยภาพกระทำการ (Agency): การถกเถียงในแวดวงสตรีศึกษาและศาสนาร่วมสมัย,” วารสารมานุษยวิทยา ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 (มกราคม - มิถุนายน 2564)
  • 2563
    • อนุสรณ์ อุณโณ การศึกษา “ชายแดนใต้” ในบริบทพรมแดนไทยมาเลเซีย: สถานะความรู้ ข้อท้าทาย และความเป็นไปได้ใหม่ รายงานการวิจัย คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

English

  • 2022
    • Anusorn Unno “Uneasy Military Encounters: The Imperial Politics of Counterinsurgency in Southern Thailand, by Ruth Streicher,” A book review, SOJOURN: Journal of Social Issues in Southeast Asia. Vol. 37/1 (March 2022).
    • Anusorn Unno “‘Stand, Stop, Imprison’: People’s Defiance against the Thai Establishment”, Fulcrum, 2022/65
    • Anusorn Unno “We Apologize, But We Don’t Regret: Thailand’s Frazzled Conservatives”, Fulcrum, 2022/36
    • Anusorn Unno “Ratsadornprasong Fund: New Front for People’s Struggles Against the Establishment”, Fulcrum, 2022/22
    • Anusorn Unno “‘Reform, Not Abolition’: The ‘Thai Youth Movement’ and Its Demand for Reform of the Monarchy”, Perspective. Issue 2022, Number 3.
  • 2021
    • Anusorn Unno “‘Thalu Gas’: The Other Version of the ‘Thai Youth Movement’”, Perspective. Issue 2021, Number 146.
  • 2019
    • Anusorn Unno “‘We the Southerners Come to Protect the Nation and the King’: Southerners’ Political Rise and Regional Nationalism in Thailand”, in Michael J. Montesano et.al. After the Coup: The National Council for Peace and Order Era and the Future of Thailand. Singapore: ISEAS Publishing.
    • Anusorn Unno “We Love Mr. King”: Malay Muslims of Southern Thailand in the Wake of the Unrest. Singapore: ISEAS Publishing
ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
หัวเรื่องหลักมุสลิมศึกษา
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)