โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์

ผู้อำนวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (2563-2567) สนใจประเด็นวิชาการด้านมานุษยวิทยาการแพทย์ และการศึกษาชุมชน ผลงานของ ดร.โกมาตร ก่อให้เกิดการผนวกรวมมุมมองทางมานุษยวิทยาเข้ากับการพัฒนานโยบายและการดำเนินงานด้านสุขภาพ หนึ่งในผลงานวิชาการที่สำคัญ คือ เครื่องมือ 7 ชิ้น ที่ทำให้งานชุมชนง่าย ได้ผลและสนุก

6585 views | มานุษยวิทยาการแพทย์


ประวัติส่วนตัว/ประวัติการทำงาน
  • พ.ศ. 2567-ปัจจุบัน ประธานกรรมการนโยบาย องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (ส.ส.ท.)
  • พ.ศ. 2567-ปัจจุบัน ที่ปรึกษาคณะทํางานบูรณาการประเด็นยุทธศาสตร์ เพื่อพัฒนาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ด้านการสร้างความเข้มแข็งของระบบสุขภาพ
  • พ.ศ. 2567-ปัจจุบัน ประธานคณะทํางานบูรณาการประเด็นยุทธศาสตร์ เพื่อพัฒนาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (ววน.) ด้านสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปกรรมศาสตร์
  • พ.ศ. 2565-ปัจจุบัน ผู้อำนวยการสถาบันวิจัยสุขภาพสังคม (Institute for Social Health, ISH) มูลนิธิสังคมและสุขภาพ (Society and Health Foundation)
  • พ.ศ. 2565-ปัจจุบัน Lancet Commission on Evidence-based Implementation.in Global Health.
  • พ.ศ. 2563-2567 ผู้อำนวยการศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
  • พ.ศ. 2563-2565 กรรมการสภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
  • พ.ศ. 2561 เมธีวิจัยอาวุโส สำนักงานกองทุนวิจัยประเทศไทย (สกว.)
  • พ.ศ. 2561-2562 ผู้อำนวยการสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ สำนักวิชาการสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข, รักษาการ ผู้อำนวยการหอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข
  • พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน กรรมการมูลนิธิเด็ก
  • พ.ศ. 2548-2556 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการบริหารศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
  • พ.ศ. 2547-2561 ผู้อำนวยการสำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
  • พ.ศ. 2547-2548 Visiting Professor, Graduate School of Asian and African Area Study ,Kyoto University. Japan.
  • พ.ศ. 2546-2547 ผู้จัดการแผนงานวิจัยสังคมและสุขภาพ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข
  • พ.ศ. 2541-2546 หัวหน้ากลุ่มนโยบายสังคมกับสุขภาพ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข
  • พ.ศ. 2532-2534 ผู้ช่วยเลขาธิการข่ายงานวิจัยพฤติกรรมสุขภาพ (Health Behavior Research Network) ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข
  • พ.ศ. 2530-2546 เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ (เดิมชื่อ กองแผนงานสาธารณสุข) สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • พ.ศ. 2528-2530 แพทย์ประจำ โรงพยาบาลชุมชนชุมพวง อำเภอชุมพวง จังหวัดนครราชสีมา
  • พ.ศ. 2527-2528 แพทย์ฝึกหัด โรงพยาบาลมหาราช จังหวัดนครราชสีมา

ประวัติการศึกษา
  • พ.ศ. 2541 ปริญญาเอกสาขามานุษยวิทยา (Ph.D. Social Anthropology) ที่มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา
  • พ.ศ. 2534 หลักสูตรอบรมระยะสั้น National Health t_administration ที่ JICA (Japan International Cooperation Agency) Hachioji International Training Center, Japan
  • พ.ศ. 2532 หลักสูตรอบรมระยะสั้นหลักสูตร มานุษยวิทยาการแพทย์และการสาธารณสุขมูลฐาน (Short Course in Medical Anthropology and Primary Health Care) ที่ London School of Hygiene and Tropical Medicine, London, UK.
  • พ.ศ. 2526 แพทยศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พ.ศ. 2524 วิทยาศาสตร์บัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
หน่วยงานที่สังกัดปัจจุบันองค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย
ประเด็นการศึกษาที่เชี่ยวชาญ/สนใจมานุษยวิทยาการแพทย์
ผลงานวิชาการที่สำคัญ

งานวิจัย

Chen, Hongtu, Sue Levkoff, Komatra Chuengsatiansup & Siranee Sihapark. (2023-On-going). Mobile application for early detection and intervention to reduce psychological distress in informal family caregivers of community dwelling adults with chronic disorders in Thailand. A collaborative research project of Department of Global Health and Social Medicine, Harvard University, University of South Carolina and Society and Health Foundation.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์และคณะ. (2563-2564). โครงการวิจัย “โควิด 19 กับสังคมไทย: บันทึกวิกฤติและประสบการณ์การรับมือไวรัสโคโรนา” (COVID-19 in Thai Society: Documenting Coronavirus Crisis and Epidemic Responses). โดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

Chen, Hongtu, Sue Levkoff and Komatra Chuengsatiansup. et al. (2017-2022). Partnership in Implementation Science for Geriatric Mental Health (PRISM-Thailand) Project. A collaborative research project of Department of Global Health and Social Medicine, Harvard University, University of South Carolina and Society and Health Foundation.

Chandler, Clare, Coll Hutchison, Komatra Chuengsatiansup. et al. (2017-2021). Anti-Microbials In Society (AMIS): A Global Interdisciplinary Research Hub. London School of Hygiene and Tropical Medicine, Mahidol University and Society and Health Institute.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์และคณะ. (2558-2561). โครงการวัฒนธรรมและความเสี่ยงสุขภาพ (Culture and Health Risks Project). โดยการสนับสนุนของสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์และคณะ. (2558-2560). โครงการเรียนรู้อยู่กับภัยพิบัติ: นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐและพลวัตชุมชน (ระยะที่ 2). โดยการสนับสนุนของสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์และคณะ. (2555-2556). โครงการเรียนรู้อยู่กับภัยพิบัติ: นิเวศวัฒนธรรม สื่อ รัฐและพลวัตชุมชน (ระยะที่ 1) รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. โดยการสนับสนุนโดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ.) และสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และประชาธิป กะทา. (2551). วิจัยเชิงคุณภาพ : การเรียนรู้จากงานประจำ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.).

ชาติชาย มุกสง และโกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2548). ธรรมาภิบาลและการเมืองแบบมีส่วนร่วมของผู้บริโภค : ศึกษากรณีกลุ่มคุ้มครองผู้บริโภคสี่แยกสวนป่า อ. บางขัน จ. นครศรีธรรมราช. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2543). โครงการทบทวนสถานการณ์การใช้ยาในชุมชน. ม.ป.ท.: ม.ป.พ..

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์ และคนอื่นๆ. (2543). การวิจัยเพื่อการพัฒนาระบบการพึ่งตนเองด้านสุขภาพในระดับครอบครัวและชุมชน : พลวัตสุขภาพกับการพึ่งตนเอง : รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.

งานเขียนบทความในหนังสือและวารสาร

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2565). “วิทยาศาสตร์ในสยาม: ประวัติศาสตร์การก่อรูปเเปลี่ยนร่างและสภาวะรวมตัวทางวิทยาศาสตร์” ใน ทวีศักดิ์ เผือกสม บก. “ท่องไปบนดวงดาว ก้าวลงบนดวงจันทร์: ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ในสังคมไทย”. พิษณุโลก: มูลนิธิเพื่อการวิจัยสังคมเอเชีย

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์และนภนาท อนุพงศ์พัฒน์. (2561). ปกิณกคดี 100 ปีการสาธารณสุขไทย. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ สำนักวิชาการสาธารณสุข กองยุทธศาสตร์และแผนสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.

Chuengsatiansup K. (2008). The ties that bind: Social relationship and cultural reasoning of self-medication amont the poor elderly with chronic illness in a congested community in Bangkok. Retrived January 14, 2019, ResearchGate https://www.researchgate.net/publication/

Chuengsatiansup K. (2008). Ethnography of epidemiologic transition: Avian flu, global health politics and agro-industrial capitalism in Thailand. Anthropology and Medicine, 15(1), 53-59.

ฉัตรชัย เอกปัญญาสกุล, โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, ณัฐพงศ์ แหละหมัน และฉันทนา ผดุงเทศ. (2551). คุณภาพชีวิตของประชาชนที่อาศัยรอบสนามบินดอนเมืองและสนามบินสุวรรณภูมิในเขตกรุงเทพมหานคร. ว.วิชาการสาธารณสุข, 17(1), 40-47.

Chuengsatiansup K. (2007). Community capacity building and health promotion in a globalized world. Health Promotion International, 21(1), 84-90.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2549). ธรรมชาติ ศาสนา กับสาเหตุแห่งความทุกข์. และ โศกนาฏกรรมอันดามัน : ความทุกข์ ความหมาย กับการเยียวยา. ใน จักรวาลผลัดใบ : การเกิดใหม่ของจิตสำนึก. กรุงเทพฯ: มติชน.

Chuengsatiansup K. (2005). Private obstetric practice in a public hospital: Mythical trust in obstetric care. Environmental Impact Assessment Review, 23 (1), 3-15.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2548). โศกนาฏกรรมอันดามัน : ความทุกข์ ความหมายกับการเยียวยา. ใน คลื่นความคิดจากจิตวิวัฒน์ : ข้อเขียนจากใจที่ไหวสะเทือนในเหตุการณ์วิบัติภัยสึนามิ. กรุงเทพ: มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2548). เมื่อรำผีฟ้าและแพทย์สมัยใหม่ช่วยกันรักษาโรคเยื่อหุ้มสมองอักเสบ. ใน Healthy. กรุงเทพฯ : Open Books.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2547) ผลกระทบโลกาภิวัตน์...สู่กระบวนทัศน์ทางเลือกด้านสุขภาพ. ใน สุขภาพแบบบูรณาการ ประสานศาสตร์ พุทธ เต๋า โยคะ. กรุงเทพฯ: สถาบันวิถีทรรศน์.

Chuengsatiansup K. (2003). Spirituality and health: An initial proposal to incorporate spiritual health in health impact assessment. Social Science & Medicine, 61(7), 1408-1417.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, วรัญญา เพ็ชรคง และชาติชาย มุกสง. (2546). มุสลิม ราชการ และการแพทย์: พลวัตของอำนาจ ชาติพันธุ์ และพหุลักษณ์ทางการแพทย์ในชุมชนอิสลาม. สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2546). จิตวิญญาณกับสุขภาพ. ใน พลินี เสริมสิริ, สุภกาญจน์ สว่างศรี และสมฤทัย เสือปาน (บรรณาธิการ), จากสุขภาพทางจิตวิญญาณสู่สุขภาพทางปัญญา. กรุงเทพฯ : สำนักงานปฏิรูประบบสุขภาพแห่งชาติ.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2545). แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 9 : จากนโยบายสู่การปฏิบัติ. ใน 30 ประเด็นสู่แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่9. นนทบุรี: โครงการตำรา สำนักนโยบายและแผนสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.

Chuengsatiansup K. (1999). Sense, Symbol, and Soma: Illness Experience in the Soundscape of Everyday Life. Culture Medicine and Psychiatry, 23(3), 273-301.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2541). การดูแลรักษาสุขภาพและการรักษาพยาบาล : ประเด็นที่ควรพิจารณา. ใน ชยันต์ วรรธนะภูติ และฉันทนา บรรพศิริโชติ (บรรณาธิการ). ระบบความรู้พื้นบ้านปัจจุบัน : การวิจัยและพัฒนา. กรุงเทพฯ : โครงการศึกษาชาติพันธุ์และการพัฒนา สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และโครงการศึกษาทางเลือกการพัฒนา สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2539). ประชาสังคม : มิติใหม่ของการเมืองสาธารณะ. ใน ประชาสังคมกับการพัฒนาสุขภาพ : บทวิเคราะห์ทางวิชาการ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2534). ภูมิปัญญาไทยที่ปรากฏในรูปพิธีกรรม. ใน บทอ่านสังคมและวัฒนธรรมไทย. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2533). ระบบการแพทย์พื้นบ้านในชนบท. ใน ทวีทอง หงษ์วิวัฒน์, เพ็ญจันทร์ ประดับมุข และจริยา สุทธิสุคนธ์ (บรรณาธิการ), พฤติกรรมสุขภาพ : รวมบทความจากการประชุมวิชาการพฤติกรรมสุขภาพครั้งที่ 1. นครปฐม: ข่ายงานวิจัยพฤติกรรมสุขภาพ ศูนย์ประสานงานทางการแพทย์ และสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข.

โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์. (2529). คุณค่าและอัจฉริยภาพของภูมิปัญญาดั้งเดิมในระบบการแพทย์พื้นบ้าน. ปาจารยสาร, 13 (4), 24-31.

ปาฐกถา บรรยายพิเศษ และการสัมภาษณ์

“Citrus Precarity: Transboundary Pathogenicity and the Multiplicity of Biotic-Abiotic-Antibiotic Intractions.” Keynote for “Periphery at the centre: Towards new transdisciplinary approaches of global cross-border infectious mobility” workshop, March 2024, Maastricht University, the Netherlands

ปาฐกถา “วิทยาศาสตร์ในสยาม: ประวัติศาสตร์การก่อรูปเเปลี่ยนร่างและสภาวะรวมตัวทางวิทยาศาสตร์” ในการประชุมวิชาการ “ท่องไปบนดวงดาว ก้าวลงบนดวงจันทร์: ประวัติศาสตร์วิทยาศาสตร์ในสังคมไทย” จัดโดย มหาวิทยาลัยนเรศวร สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช) และหน่วยบริหารและจัดการทุนวิจัยด้านการพัฒนากำลังคน และทุนด้านการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา การวิจัยและการสร้างนวัตกรรม (บพค) ร่วมกับศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) วันที่ 20 สิงหาคม 2565 ณ หอประชุม ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)

“Mobilising Methods, Crossing Borders: Experimenting with “Following Methods” in Studying Antimicrobials in Society” Keynote for "Mobilising Methods in Medical Anthropology", Royal Anthropological Institute, UK. Virtual Conference, 19 January 2022.

ปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “มานุษยวิทยาการแพทย์: COVID-19กับโรคระบาดใหม่ ในมุมมองมานุษยวิทยา” ในงานสัมมนาวิชาการเครือข่ายนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา ครั้งที่ 19 ปีการศึกษา 2563 วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2563 จัดโดยภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ปาฐกถา "จากอดีตสู่อนาคต: ความท้าทายและโอกาสการพัฒนาของสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์สุขภาพไทย" ในการประชุมวิชาการ 20 ปี สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ ณ หอจดหมายเหตุสาธารณสุขแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข วันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2562

ผลงานวิชาการ (PDF)ดาวน์โหลด
ผู้เผยแพร่ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
รูปแบบลิขสิทธิ์สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ (Creative Commons)
หัวเรื่องหลักมานุษยวิทยาการแพทย์
คำสำคัญมานุษยวิทยาการแพทย์
ผู้จัดทำศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
ผู้ร่วมงานอื่นๆ

อ้างอิงข้อมูลจาก - สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ

http://www.shi.or.th/content/217/